แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การกระทำความผิดโดยบันดาลโทสะที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกับการกระทำโดยเบื้องต้นและการกระทำโดยไตร่ตรองไว้ก่อน
A study of provocation at the time of self-defence and premeditation

ThaSH: ความผิด (กฎหมาย)
ThaSH: การป้องกันตัว
ThaSH: ความผิดต่อบุคคล
ThaSH: การไตรตรองไว้ก่อน (กฎหมาย)
ThaSH: การยั่วยุ (กฎหมายอาญา)
Abstract: การกระทำความผิดโดยบันดาลโทสะตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 72 อาจเกิดขึ้นได้ในขณะเดียวกันกับการกระทำโดยการป้องกันเกินสมควรแก่เหตุหรือเกินกว่ากรณีแห่งการจำต้องกระทำเพื่อป้องกันกรณีภัยผ่านพ้นไปแล้วตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 69 ซึ่งเป็นการกระทำที่ครบองค์ประกอบความผิดตามโครงสร้างความรับผิด โดยผู้กระทำไม่มีอำนาจกระทำได้และไม่มีกฎหมายยกเว้นโทษ แต่เป็นเหตุลดโทษที่กฎหมายกำหนดให้ศาลมีดุลพินิจในการลงโทษผู้กระทำน้อยเพียงใดก็ได้เช่นเดียวกันโดยที่มาตรา 69 เป็นคุณแก่ผู้กระทำมากกว่าคือ ถ้ากระทำไปโดยความตื่นเต้น ความตกใจ หรือความกลัว ศาลอาจไม่ลงโทษผู้กระทำได้ ปัญหาที่เกิดขึ้นคือกรณีใดควรปรับบทด้วยมาตรา 69 หรือ มาตรา 72 โดยควรพิจารณาเป็น 3 กรณี คือ กรณีที่หนึ่ง ผู้กระทำได้เริ่มใช้สิทธิป้องกันแล้วและกระทำต่อเนื่องติดพัน แม้ภยันตรายผ่านพ้นไปแล้วก็ยังกระทำอยู่ ควรปรับบทเรื่องของการป้องกันเกินขอบเขตตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 69 กรณีที่สอง ผู้กระทำได้เริ่มใช้สิทธิป้องกันแล้วและกระทำต่อเนื่องติดพัน แม้ภยันตรายผ่านพ้นไปแล้วก็ยังกระทำอยู่ โดยที่ผู้กระทำเข้าใจว่าผู้ก่อภัยยังมีภยันตรายที่จะคุกคามอยู่ แม้ความจริงผู้ก่อภัยไม่มีความสามารถจะทำอันตรายได้แล้ว ควรปรับบทเรื่องของการป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมายโดยสำคัญผิด กรณีที่สาม ผู้กระทำได้เริ่มใช้สิทธิป้องกันตอบโต้กลับไปที่ผู้ก่อภัยเมื่อภยันตรายผ่านพ้นไปแล้ว ควรปรับบทเรื่องการกระทำโดยบันดาลโทสะ โดยไม่เข้าเรื่องของการป้องกันเกินขอบเขต เพราะผู้กระทำไม่ได้เริ่มใช้สิทธิป้องกัน และไม่มีเจตนากระทำการป้องกันในขณะที่เกิดภยันตรายขึ้นเลย นอกจากนี้ หากเป็นกรณีที่มีการข่มเหงอย่างร้ายแรงด้วยเหตุอันไม่เป็นธรรมซึ่งทำให้ผู้กระทำบันดาลโทสะแต่มิได้กระทำโต้ตอบไปในทันที ต้องพิจารณาว่าเป็นการบันดาลโทสะซึ่งเป็นเหตุในการลดโทษหรือไตร่ตรองไว้ก่อนซึ่งเป็นเหตุให้รับโทษหนักขึ้น จุดแบ่งแยกที่ชัดเจนคือระยะเวลาเพียงพอที่จะระงับความโกรธและมีสติ โดยต้องพิจารณาตามหลัก Objective Test โดยเปรียบเทียบวิญญูชนที่ถูกข่มเหงเช่นเดียวกับผู้กระทำและตามหลัก Subjective Test คือผู้กระทำความผิดหรือจำเลยนั้นมีระยะเวลาเพียงพอที่จะระงับโทสะได้หรือไม่ หากพิจารณาแล้ววิญญูชนและจำเลยยังไม่มีเวลาที่จะสามารถระงับโทสะได้และยังมีโทสะอยู่ในขณะที่ทำโต้ตอบ กรณีนี้เป็นการกระทำโดยบันดาลโทสะ หรือกรณีที่วิญญูชนมีระยะเวลาพอสมควรที่จะระงับโทสะได้แล้ว แต่จำเลยยังคงมีโทสะอยู่นานกว่าบุคคลทั่วไป จึงกระทำความผิดไปโดยไม่สามารถบับยั้งชั่งใจได้ กรณีนี้เป็นความผิดฐานฆ่าผู้อื่นโดยเจตนาเท่านั้น แต่หากพิจารณาแล้ววิญญูชนและจำเลยมีเวลาเพียงพอที่จะระงับโทสะได้และจำเลยไม่มีโทสะแล้วในขณะโต้ตอบ หรือแม้วว่าวิญญูชนไม่สามารถระงับโทสะได้แต่จำเลยสามารถระงับโทสะได้สมบูรณ์และคิดทบทวนได้แล้ว กรณีนี้เป็นการกระทำโดยไตร่ตรองไว้ก่อน
Abstract: Provocation under Penal Code Section 72 may happen coincidentally with the act of excessive self-defense or excessive necessary case of offence as the calm has past under Penal Code Section 69 which is the action to complete the constituent part of the offence, whereby the actor has no power to commit and no any law to make an exception of punishment. However, it may be the cause that the Court may use its discretion to punish the offender as less as it does fit whereas Section 69 is somewhat benevolent to the offender in case that the acts is done under the excitement, fear or alarm, the Court may not punish the actor. It must be consider on the problem which case should be adjusted under Section 69 or Section 72 that should be considered under these 3 cases : The first case is that the offender has started to use his right of self-defense and acts continuously even though the harm is over, this should be adjudged as excessive self-defense under Section 69. The second case is that the offender has started to use his right of self-defense and acts continuously even though the harm is over, but the offender believes that the harm get being threatened inspite of the fact that the attacker is not able to commit further harm, this should be adjudged as a mistaking lawful defense. The third case is the offender has started to use his right of self-defense after the harm has finished, this should be adjudged as the circumstance of being sudden provoke not as excessive self-defense due to the offender has not started to use his right and has no intention to offend at the time the harm arising. Apart from this, the case of reasonable provocation that sudden provoked the actor but has not make promptly offence, this must be considered either being provoked suddenly that should be a cause for less punishment or being a case of premeditation that should be a cause for more punishment. The clear focal point should be considered on reasonable time to cool off under the process of Objective Test by comparing with a reasonable man who is harassed in the same manner as the offender as well as under the process of Subjective Test whether the offender has sufficient time for the passion to subside, if should, after consideration, the reasonable man has not sufficient time for the passion to subside while committing the offence, this should be adjudged as provocation. Should the reasonable man has a cooling off period to suppress his passion but the offender still be provoked longer than the reasonable man and commit the offence without self-control, this should be adjudged as the offence of intentional killing. However should the reasonable man and the offender, after consideration, have reasonable cooling off period and the offender is not provoked during committing the offence or even the reasonable man could not control his passion yet, but the offender could have self-control completely and think carefully, thus should be adjudged as premeditation.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2544
Modified: 2560-03-06
Issued: 2560-03-04
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Pinthip.pdf 1.39 MB45 2024-11-20 21:50:51
ใช้เวลา
0.021213 วินาที

พิณทิพย์ ลีลาเกรียงศักดิ์
วีระพงษ์ บุญโญภาส
Title Creator Type and Date Create
การต่อรองคำรับสารภาพ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส ;เข็มชัย ชุติวงศ์
นิจรินทร์ องค์พิสุทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการกระทำและความรับผิดในทางอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส ;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ปรานี เสฐจินตนิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรับผิดของรัฐต่อพยานในการให้ความคุ้มครองตามมาตรการพิเศษ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส ;พงศกร จันทรศัพท์
นงศิรนารถ เดิมกาญจนดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การกระทำความผิดโดยบันดาลโทสะที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกับการกระทำโดยเบื้องต้นและการกระทำโดยไตร่ตรองไว้ก่อน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส ;จิรนิติ หะวานนท์
พิณทิพย์ ลีลาเกรียงศักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฎหมายในการแสวงหาพยานหลักฐานและการค้นหาความจริง ในคดีฟอกเงิน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์; วีระพงษ์ บุญโญภาส
นงศิรนารถ กุศลวงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
จิรนิติ หะวานนท์
Title Creator Type and Date Create
ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการชำระหนี้เงินกู้ยืมด้วยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ภูมิ โชคเหมาะ;จิรนิติ หะวานนท์
บุญทวี เปรมปิยะกิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประกันภัยความรับผิดทางละเมิดของผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กัลยา ตัณศิริ;จิรนิติ หะวานนท์
สินี อรุณฉาย
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กัลยา ตัณศิริ;จิรนิติ หะวานนท์;ไพจิตร สวัสดิสาร
ดิสพล ครุธมีชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับมาตรการเยียวยาของผู้บริโภค : ศึกษากรณีสัญญาสำเร็จรูปที่ไม่เป็นธรรม
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พิมพ์ใจ สระทองอุ่น;จิรนิติ หะวานนท์
พัฒนา ชูสอน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายล้มละลาย : ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายของสหรัฐอเมริกา
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กัลยา ตัณศิริ;จิรนิติ หะวานนท์
พรรณพิศ คงลาภ
วิทยานิพนธ์/Thesis
อำนาจศาลในการวินิจฉัยคำโต้แย้งบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่จะใช้บังคับแก่คดี เพื่อส่งความเห็นให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณาวินิจฉัย ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 264 : ศึกษาเฉพาะกรณีศาลยุติธรรม
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
จิรนิติ หะวานนท์;สมชัย ศิริสมบูรณ์เวช
ธวัชชัย พานิชย์สกุลชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเข้าสู่ตำแหน่งผู้พิพากษาศาลยุติธรรมชั้นต้น
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
จิรนิติ หะวานนท์;พูนศักดิ์ ไวสำรวจ
สมหวัง คล้ำชื่น
วิทยานิพนธ์/Thesis
ค่าเสียหายของหนี้บัตรเครดิต
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
จิรนิติ หะวานนท์;กัลยา ตัณศิริ;สุรินทร์ ชลพัฒนา
วิดาภา สุจรรยาทวี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การมีมลทินหรือมัวหมองในกรณีที่ถูกสอบสวนตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2535
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
จิรนิติ หะวานนท์;วิชัย สังข์ประไพ
ชัยรัฐ เกตุผาสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
สถานะทางกฎหมายของแนวนโยบายแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
จิรนิติ หะวานนท์;โภคิน พลกุล;พูนศักดิ์ ไวสำรวจ
ยอดชาย ชอบทางศิลป์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจของผู้เยาว์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กัลยา ตัณศิริ;ประเสริฐ ตัณศิริ;จิรนิติ หะวานนท์
ปิยะธิดา อุปพงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
เช็คอิเล็กทรอนิกส์กับความรับผิดของคู่สัญญา
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กัลยา ตัณศิริ;จิรนิติ หะวานนท์
ประเสริฐ เสียงสุทธิวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาความรับผิดของผู้จำนอง : ศึกษากรณีข้อตกลงยกเว้น มาตรา 733 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์กับกฎหมายข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ประเสริฐ ตัณศิริ;จิรนิติ หะวานนท์
รพีพร วนาสัณฑ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการควบคุมป้ายโฆษณาทางธุรกิจ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
กัลยา ตัณศิริ;จิรนิติ หะวานนท์
วันเฉลิม เมตไตรพันธุ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพิจารณาคดีในระบบไต่สวนตามกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อุดม รัฐอมฤต;จิรนิติ หะวานนท์
สุพิชฌาย์ กฤษณพิพัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การไต่สวนมูลฟ้องในกรณีพนักงานอัยการ เป็นโจทก์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จิรนิติ หะวานนท์
อนันต์ ยมจินดา, 2502-
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดหาทนาย โดยรัฐในคดีอาญา
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จิรนิติ หะวานนท์
อนัญญา งามสิริพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
หน่วยธุรการของศาลยุติธรรมที่เป็นอิสระ
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
จิรนิติ หะวานนท์;สรจักร เกษมสุวรรณ
คำนวณ รักษ์ณรงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาเกี่ยวกับผลบังคับของสิทธิและเสรีภาพที่รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญ
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ภูมิ โชคเหมาะ;จิรนิติ หะวานนท์
ชลธิชา บุญเสถียร
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของศาลเยาวชนในการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาตามพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553 มาตรา 86
มหาวิทยาลัยสยาม
เจษฎ์ โทระวณิก;จิรนิติ หะวานนท์
กิตติ เกษร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การลักทรัพย์ในร้านค้าที่ลูกค้าบริการตนเอง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กมลชัย รัตนสกาววงศ์;จิรนิติ หะวานนท์
จุฬา จงสถิตย์ถาวร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การติดตามริบทรัพย์สินผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด : ศึกษาเฉพาะกรณีมาตรการบังคับใช้ต่อธนาคารหรือสถาบันการเงิน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส;จิรนิติ หะวานนท์
สุวภา สุขคตะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การกระทำความผิดโดยบันดาลโทสะที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกับการกระทำโดยเบื้องต้นและการกระทำโดยไตร่ตรองไว้ก่อน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส ;จิรนิติ หะวานนท์
พิณทิพย์ ลีลาเกรียงศักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การดำเนินคดีอาญาต่อกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มัทยา จิตติรัตน์ ;จิรนิติ หะวานนท์
สมชาติ เลิศลิขิตวรกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจสอบพยานหลักฐานโดยศาลก่อนการพิจารณาคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จิรนิติ หะวานนท์
ศุภชัย เกียรติเฉลิมพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
สิทธิของผู้ต้องหาและจำเลยในการมีล่ามในการดำเนินคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;วีรพงษ์ บุญโญภาส;จิรนิติ หะวานนท์
ศรัณยา เลิศศาสตร์วัฒนา
วิทยานิพนธ์/Thesis
อำนาจของผู้อำนวยการสถานพินิจในการทำความเห็นไม่ฟ้องคดีอาญาที่เด็กหรือ เยาวชนกระทำผิด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อัมราวดี อังค์สุวรรณ;จิรนิติ หะวานนท์
อดิศร ตรีเนตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสืบพยานบุคคลในคดีอาญาโดยใช้สื่อภาพและเสียงเชิงปฏิสัมพันธ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จิรนิติ หะวานนท์
พนิดา เศวตสุนทร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การมีทนายความในคดีอาญา : สิทธิหรือเงื่อนไขในกระบวนการพิจารณาคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มรุธา วัฒนะชีวะกุล;จิรนิติ หะวานนท์
คมสัน กันหาเรียง
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของศาลเยาวชนและครอบครัวในการคุ้มครองเด็ก จากการทารุณกรรม โดยบุคคลในครอบครัว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จิรนิติ หะวานนท์
ปริญญา ฐิติมนตรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความผิดฐานพรากเด็กและพรากผู้เยาว์ตามประมวลกฎหมายอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มัทยา จิตติรัตน์;จิรนิติ หะวานนท์
สมหวัง วิริยะผล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ขอบเขตการใช้ดุลพินิจของศาลในการปล่อยชั่วคราว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์;จิรนิติ หะวานนท์
มนต์ชัย ชนินทรลีลา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคุ้มครองสิทธิของผู้ถูกคุมความประพฤติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส;จิรนิติ หะวานนท์
แววมณี พวงน้อย
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการปฏิบัติต่อผู้กระทำความผิดโดยอาศัยการบริการสังคม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส;จิรนิติ หะวานนท์
เสมอแข เสนเนียม
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฎหมายในการบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดสารระเหย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มัทยา จิตติรัตน์;จิรนิติ หะวานนท์
จีรบูรณ์ บำเพ็ญนรกิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
อาสาสมัครคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม: บทบาทในการควบคุมสังคม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส;จิรนิติ หะวานนท์
เชื้อชาย โพธิ์กลิ่น
วิทยานิพนธ์/Thesis
การไต่สวนมูลฟ้องในคดีราษฎรเป็นโจทก์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิรนิติ หะวานนท์;ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์
กฤษณา อนุชน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาวิธีพิจารณาความอาญาในชั้นศาลสำหรับพยานตามโครงการคุ้มครองพยาน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์ ; จิรนิติ หะวานนท์; อุทัย อาทิเวช
สุพิศ ปราณีตพลกรัง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การลักพาตัวเด็กกับกฎหมายอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มัทยา จิตติรัตน์;จิรนิติ หะวานนท์
ศิริพร ปาริยะวุทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
อำนาจศาลในการสืบพยานกรณีขาดนัดในคดีแพ่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จิรนิติ หะวานนท์
สันติสุข ทิพย์สุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำสืบประวัติและการกระทำในอดีตของจำเลยในคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จิรนิติ หะวานนท์
วัฒนา เอี่ยมอธิคม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การโอนตัวนักโทษ : ศึกษาเฉพาะกรณีวัตถุประสงค์ในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุผานิต เกิดสมเกียรติ;จิรนิติ หะวานนท์
มาลินี รุ่งอรุณศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การปรับใช้บทนิยาม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จิรนิติ หะวานนท์;มัทยา จิตติรัตน์
จุฑาทิศ จารุพาสน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การควบคุมเด็กหรือเยาวชนที่ต้องหาว่ากระทำความผิดอาญาในระหว่างสอบสวน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;อมราวดี อังค์สุวรรณ;จิรนิติ หะวานนท์
กอบพร พัฒนอมร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความผิดฐานทำร้ายร่างกายโดยมีหรือใช้อาวุธปืน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;จิรนิติ หะวานนท์;วีระพงษ์ บุญโญภาส
มนัส นครศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการแก้ไข บำบัด ฟื้นฟูเด็กและเยาวชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาในศาลเยาวชนและครอบครัว
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ณรงค์ ใจหาญ;จิรนิติ หะวานนท์
ศรัณยา เลิศศาสตร์วัฒนา
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 9
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,584
รวม 2,593 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 174,253 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 641 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 434 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 46 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 42 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 8 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 175,429 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48