แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การจัดสภานักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา
Student council organization in the secondary schools

ThaSH: กิจกรรมของนักเรียน
Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลักษณะและวิธีการจัดสภานักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูและนักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมสภานักเรียนในด้านคุณค่าและการร่วมกิจกรรม 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูและนักเรียนเกี่ยวกับปัญหาในการจัดสภานักเรียนเพื่อนำมาเป็นแนวทางเสนอแนะในการปรับปรุงสภานักเรียนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น วิธีดำเนินงานวิจัย 1. ศึกษางานเกี่ยวกับการจัดสภานักเรียนจากหนังสือ วารสาร และธรรมนูญของสภานักเรียน ตลอดจนสอบถามผู้รู้เกี่ยวกับการจัดสภานักเรียน เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถาม 2. ศึกษาความคิดเห็นของครูและนักเรียนเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ สิทธิ หน้าที่ การดำเนินงาน การเลือกตั้ง และข้อคิดเห็นอื่นๆ ในการจัดสภานักเรียน โดยส่งแบบสอบถามไปยังครูจำนวน 96 คน และนักเรียน 320 คนในโรงเรียนราษฎร์และรัฐบาลรวม 8 แห่งในจังหวัดกรุงเทพมหานคร นำข้อมูลที่ได้มาหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำเสนอในรูปตารางและอธิบายประกอบ สรุปผลการวิจัย ผลการวิจัยปรากฏว่าในด้านวัตถุประสงค์ของสภานักเรียน ครูและนักเรียนเห็นว่าเป็นการฝึกฝนให้นักเรียนมีประสบการณ์ในการปกครอง การบริหารงานตามระบอบประชาธิปไตยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ฝึกฝนตนเองเป็นพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย และเป็นตัวแทนของนักเรียนในการจัดกิจกรรมต่างๆทั้งภายในและนอกโรงเรียนด้วย ครูและนักเรียนส่วนใหญ่เห็นว่า สิทธิและหน้าที่ของสภานักเรียนคือ พิจารณาแก้ไขเพิ่มเติมและออกระเบียบข้อบังคับของสภานักเรียนที่ไม่ขัดต่อนโยบายของโรงเรียน จัดกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายจากโรงเรียน ควบคุม ตรวจตรา และยับยั้งการทำงานของคณะกรรมการบริหารสภานักเรียน ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานโดยทั่วๆ ไปของโรงเรียน และพิพากษาคดีของนักเรียนภายใต้ความเห็นชอบของผู้บริหารโรงเรียน การเลือกตั้งของสภานักเรียนที่ครูและนักเรียนต้องการคือ มีการเลือกตั้งแบบประชาธิปไตย โดยนักเรียนทุกคนมีสิทธิที่จะเลือกและมีสิทธิที่จะได้รับเลือกเป็นผู้แทน มิใช่ผู้บริหารโรงเรียนหรือคณาจารย์เป็นผู้เลือก คุณสมบัติของสมาชิกสภานักเรียนควรเป็นผู้ประพฤติดีวางตนเป็นกลาง และมีผลการเรียนดี และอาจารย์ที่ปรึกษาควรเป็นผู้มีจิตใจเป็นนักประชาธิปไตย มีมนุษยสัมพันธ์ ส่วนการเลือกตั้งซ่อมให้ผู้มีคะแนนรองเป็นสมาชิกสภานักเรียนตามวาระของผู้ที่ตนแทน หรือถ้าไม่มีผู้ได้คะแนนรองก็ให้เลือกตั้งใหม่ตามระบอบแห่งประชาธิปไตย การดำเนินงานของสภานักเรียนที่ครูและนักเรียนต้องการคือ ชี้แจงให้นักเรียนและครูเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสภานักเรียนโดยมีการประชุมและพิมพ์ธรรมนูญออกเป็นรูปเล่ม การจัดกิจกรรมต่างๆที่จัดขึ้นควรมีการวางแผนที่ดี และเป็นประโยชน์ต่อนักเรียนและชุมชน ด้านความคิดเห็นทั่วๆไปเกี่ยวกับการจัดสภานักเรียน ครูและนักเรียนเห็นว่าครูและนักเรียนควรมีส่วนร่วมในการวางแผนจัดกิจกรรมของสภานักเรียน ทราบจุดมุ่งหมายของการจัดกิจกรรมทุกครั้ง มีการวัดและประเมินผลการจัดกิจกรรมอีกด้วย ปัญหาของการจัดกิจกรรมของสภานักเรียนนั้นมีปัญหาในด้านเวลา การเงิน การจัดกิจกรรมไม่มีการวางแผนที่รัดกุม ขาดประสบการณ์ และการร่วมมือจากครูและนักเรียน ส่วนประโยชน์ของสภานักเรียนนั้นทั้งครูและนักเรียนเห็นว่าสภานักเรียนมีประโยชน์ในการปลูกฝังแนวคิดเกี่ยวกับการปกครองแบบประชาธิปไตย และฝึกความเป็นพลเมืองดีให้แก่นักเรียนอีกด้วย
Abstract: Purposes: 1. To study the facts on the aspects and procedures of student council organization in the secondaty schools. 2. To study teachers‘ and students‘ opinions on values of student council's activities and the participation of teachers and students. 3. To study teachers' and students' opinions on problems of student council organization as a guide for improving the efficient student council's activities. Procedures: 1. Studying thoroughly the job of student council organization from books, documents, constitutions of student council, and the experts in order to construct questionnaires. 2. Studying the opinions of teachers and students on the objectives, the right or power, the procedure, the election and others of student council organization. Questionnaires were sent to ninety-six teachers and three hundred and twenty students in eight government and private schools in Bangkok Metropolis. The obtained data were analyzed in percentage, means and standard diviations, and presented in tables with explanations. Conclusions: The results of this research reveal that most teachers and students agreed that the objectives of student council were to practice the students to have the experience in the democratic rules and the democratic administration; to prepare the students to be good citizen in the democratic society; and to represent the students in arranging the students‘ activities. Most teachers and students agreed that the right and duty of student council were: to improve and consider the rules or constitution of student council which followed the schools‘ policies; to arrange the activities according to school orders; to control, examine, and stop the work of student council's administrative committee; to give suggestions for the school administration; and to judge student eases under the school administrators‘ agreement. Most teachers and students wanted to democratic way of election which every student should have an opportunity to be both representatives and voters. The representative should neither be elected by teachers nor the principal. The representatives‘ qualification should be ones who have high achievement in learning, good behavior, and neutrality. The student council‘s advisors must be democratic-minded and have good human relationship. In case of reelection either the ones who gained lower points could be replaced the former representatives or the new election might be replaced. Most teachers and students were satisfied with the student council organization by having meetings and printed the student council constitution printed. The performed activities should be planned carefully and provided uses toward students and the community. In teachers and students‘ point of View concerning the student council organization, they thought that students and teachers should participate in planning student activities. They should know the objectives of performing every activity. There should be the measurement and evaluation of each activity. Problems of arranging the activities were include time, money, no planning, lacking of experience and participation from teachers and students. The student council is necessary for providing the students experience of the democracy and training them to be good citizens.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2518
Modified: 2559-06-21
Issued: 2559-06-21
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/27772
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Orawan_Pa_front.pdf 508.03 KB43 2025-05-25 10:33:58
2 Orawan_Pa_ch1.pdf 607.14 KB27 2024-02-01 15:24:35
3 Orawan_Pa_ch2.pdf 693.21 KB38 2025-06-30 14:29:36
4 Orawan_Pa_ch3.pdf 322.67 KB21 2024-12-12 09:01:32
5 Orawan_Pa_ch4.pdf 1.07 MB22 2024-12-29 11:32:03
6 Orawan_Pa_ch5.pdf 1.07 MB28 2024-12-29 11:32:50
7 Orawan_Pa_back.pdf 993.61 KB28 2024-12-29 11:33:07
ใช้เวลา
0.027796 วินาที

อรวรรณ พนาพันธ์
Title Contributor Type
การจัดสภานักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อรวรรณ พนาพันธ์

ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
Title Creator Type and Date Create
ปัญหาการเรียนการสอนวิชาประชากรศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
เนาวรินทร์ ชนะทัพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอโปรแกรมบูรณาการโลกศึกษากับวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
อาพันธ์ชนิตร์ จันทร์มโน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้ความเข้าใจทางการเมืองของครูสังคมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
เกษม เชยชม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทัศนคติต่อวิชาชีพของครูสังคมศึกษาระดับมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ทนงค์ศรี อินทนุพัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทัศนคติทางการเมืองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ลลินธร กิจจาธิการกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาการฝึกสอนของนักศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ประนอม เดชชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างสัมฤทธิผลในการเรียนกับสมรรถภาพในการสอน ของนักศึกษาวิชาเอกสังคมศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล;ยุพิน พิพิธกุล
พนอ เนตรพะไล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์หนังสืออ่านประกอบวิชาสังคมศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
พรพิมล เจริญสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการเรียนการสอนจริยศึกษาของครูสังคมศึกษา และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สี่ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
กาญจนา เวชยนต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของครูสังคมศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการเรียนการสอนวิชากฎหมาย ในหมวดวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ไชยันต์ แคนยุกต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักเรียนอาชีวศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล;ประคอง กรรณสูต
จีรวรรณ สร้อยน้ำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเรียนการสอนวิชาหน้าที่พลเมืองระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนราษฏร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
รพีพรรณ เอกสุภาพันธุ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่จูงใจในการเลือกวิชาสังคมศึกษาเป็นวิชาเอกหรือวิชาโท ของนิสิตนักศึกษาครูในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
จิราภรณ์ มานะสุคนธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดีของนักเรียนอาชีวศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
จีรังลักษณ์ ศกุนตะลักษณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเรียนการสอนวิชาหน้าที่พลเมืองระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของโรงเรียนราษฏร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
รพีพรรณ เอกสุภาพันธุ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดสภานักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
อรวรรณ พนาพันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพและปัญหาการจัดค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษาสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
นพพร ไพรมณี
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษาตามการรับรู้ ของผู้บริหารและครูสังคมศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
โนรี เทพมณฑา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเชิงวิเคราะห์เนื้อหาเกี่ยวกับการศึกษาเพื่ออาชีพ ในหนังสือวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
จินตนา ศิริสัจจาพิพัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับประชาธิปไตยของนักศึกษาประกาศนียบัตร วิชาการศึกษาชั้นสูง ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
รัตนาภรณ์ มหาศรานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอโปรแกรมบูรณาการจราจรศึกษากับวิชาสังคมศึกษา สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
นวลปรางค์ ชมภูศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์และประเมินหนังสือเรียนวิชาสังคมศึกษา ส 605
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วรัญญา สวัสดิบุตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาทักษะแผนที่ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล ;จำรัส น้อยแสงศรี
เยาวณี พลเสน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของครูสังคมศึกษาเกี่ยวกับปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียน การสอน เพื่อพัฒนาประชาธิปไตยในโรงเรียนมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ประภารัตน์ สายวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นทางการเมืองของนักเรียนไทยเชื้อสายจีน ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สุภาพร วิไลพันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทในระบอบประชาธิปไตย ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วีระวรรณ พิบูลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสำนึกทางการเมืองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนราษฎร์สอนศาสนาอิสลาม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วิชิต ประสมปลื้ม
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับประชาธิปไตยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่สาม ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ประวิทย์ อรรถวิเวก
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์มโนทัศน์สังคมศึกษาในหนังสือเรียนสังคมศึกษา หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วันทนา ภุมกาญจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในระบบประชาธิปไตย ของครูสังคมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
บังอร หงสะพัก
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์ความเป็นพลเมืองดีเกี่ยวกับการจราจร ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ศิริพรรณ ใจยอดศิลป์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาเกี่ยวกับสภาพการปฏิบัติงานของครูสังคมศึกษา ในระดับมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วิชัย จันทร์เทพา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นเกี่ยวกับค่านิยมทางจริยธรรม ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วิระวรรณ อามระดิษ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์และประเมินหนังสือเรียนสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
พรทิพย์ สิงห์โตทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดีของนักศึกษาผู้ใหญ่ ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
โอภาส สะอาด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอโปรแกรมบูรณาการการศึกษาเพื่องานอาชีพกับวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเขตพื้นที่จังหวัดชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ประเสริฐ ศรีวิเศษ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของอาจารย์และนักศึกษา เกี่ยวกับโปรแกรมวิชาสังคมศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ของวิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สุพัตรา ทองประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถภาพครูสังคมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
อัธยา หาญดำรงกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์ความเป็นพลเมืองดีในระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนอาชีวศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วารี แสนสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ต่อการปกครองประเทศ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
มงคล พรหมพัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
วัดผลวิชาภูมิศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดพระนคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ปราณี ตันตยานุบุตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
โปรแกรมการเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ปราณี หัตถ์ฉลาด
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความเป็นพลเมืองดี ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สมจิตร วัฒนคุลัง
วิทยานิพนธ์/Thesis
โปรแกรมการเตรียมครูระดับปริญญาตรีเพื่อสอนวิชาสังคมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
ภณิดา คูสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาอาจารย์พี่เลี้ยงในการนิเทศการสอนวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนครู ระดับประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สมพร สาริกบุตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมเรื่อง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
มาลี โตสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์การมีส่วนร่วมทางการเมืองของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
วรรณวิมล หนิมพานิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพและปัญหาการจัดการสิ่งแวดล้อมศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
พึงใจ ไวยกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์สิ่งแวดล้อมศึกษาของครูสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สาโรจน์ มีน้อย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับการเรียนการสอน วิชาสังคมศึกษาระหว่างนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ และแผนการเรียนภาษาต่างประเทศ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สุกัญญา เชยวัฒนา
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์ทางเศรษฐกิจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
สายแก้ว ประทุม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการอ่าน เจตคติต่อวิชาสังคมศึกษากับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสังคมศึกษา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เขตการศึกษา 11
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
อุดร ฤาชา
วิทยานิพนธ์/Thesis
มโนทัศน์เกี่ยวกับชีวิตครอบครัวศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
มาลินี ทองเรืองโรจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอโปรแกรมบูรณาการการศึกษาเพื่อชีวิตครอบครัวกับวิชาสังคมศึกษา สำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ลาวัณย์ วิทยาวุฑฒิกุล
รุจี แพรอด
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 30
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,259
รวม 2,289 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 179,406 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 648 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 472 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 47 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 42 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 8 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 3 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 180,629 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48