แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การใช้เฟสบุ๊กเป็นพื้นที่สำหรับการเขียนบันทึกความคิดเป็นภาษาอังกฤษใน บริบทไทย: กรณีศึกษา

keyword: English language Study and teaching
Classification :.LCCS: PE1119 K16 2014
; ภาษาอังกฤษ การศึกษาและการสอน
Abstract: This study focused on employing Facebook as a site for Thai EFL students’ English journal writing in a Thai context. Both qualitative and quantitative methods were employed to explore to explore how Facebook can facilitate Thai EFL students’ journal writing, and investigate students’ perception of benefits and barriers from using Facebook for their journal writing assignments. The participants were 10 undergraduate students enrolled in an English Reading and Writing course. The students were required to complete their 4 journal entries (1 entry per week). Findings showed that most students wrote narrative journal entries (33 entries), and most of them wrote about their college or class activities (16 entries) and their daily lives (12 entries). All students used Facebook to chat with their classmates while they were writing their journal entries. The major phenomena found in the students’ journal entries were the influence of their L1 on L2 writing and word-for-word translation. A survey questionnaire was used to analyze the students’ perception towards using Facebook for their journal writing outside the classroom. Findings from the survey questionnaire revealed that most students expressed their satisfaction toward using Facebook for their journal writing. They perceived Facebook as a site for their thought expressions through journal writing that made them feel more relaxed than in the classroom. It was found, however, that a few students did not concentrate on learning when they used Facebook. Findings from the focus group interview helped the researcher to identify problems encountered by individual students. More studies are recommended to explore how different types of social media affect Thai students’ language acquisition through writing.
Abstract: การศึกษาครั้งนี้เน้นเรื่องการใช้เฟสบุ๊กเป็นพื้นที่สำหรับการเขียนบันทึกความคิดเป็น ภาษาอังกฤษในบริบทไทยของนักศึกษาไทยที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ มีการนำทั้งวิธี วิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณมาใช้เพื่อสำรวจว่าเฟสบุ๊กช่วยในการเขียนบันทึกความคิดของ นักศึกษาไทยที่เรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศได้อย่างไรบ้าง และสิ่งที่นักศึกษามองว่าเป็น ประโยชน์ที่ได้รับและเป็นอุปสรรคจากการใช้เฟสบุ๊กในการเขียนบันทึกความคิดที่ได้รับมอบหมาย กลุ่มประชากรเป็นกลุ่มนักศึกษาปริญญาตรีจำนวน 10 คน ซึ่งลงทะเบียนเรียนในรายวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการอ่านเขียน นักศึกษาต้องเขียนบันทึกความคิดให้ครบ 4 เรื่อง (1 เรื่องต่อสัปดาห์) จากการสำรวจพบว่านักศึกษาส่วนใหญ่เขียนบันทึกค วามคิดแบบเล่าเรื่อง (33 เรื่อง) และส่วนใหญ่ได้ เขียนเกี่ยวกับกิจกรรมในวิทยาลัยหรือในชั้นเรียน (16 เรื่อง) และชีวิตประจำวัน (12 เรื่อง) นักศึกษา ทั้งหมด ใช้เฟสบุ๊ก ในการสนทนากับ เพื่อนร่วมชั้นเรียน ขณะที่กำลังเขียนบันทึก ความคิดของตัวเอง ปรากฎการณ์ที่สำคัญที่พบใน บันทึกความคิดของ นักศึกษา คือ อิทธิพลของภาษาแรกในการแปลเป็น ภาษาที่สอง และการแปลแบบคำต่อคำ แบบสำรวจนำมาใช้ในการวิเคราะห์มุมมองของนักศึกษาที่มี ต่อการใช้เฟสบุ๊กในการเขียนบันทึกความคิดนอกชั้นเรียน การสำรวจจากแบบสอบถามพบว่า นักศึกษาส่วนใหญ่แสดงความพึงพอใจต่อการใช้เฟสบุ๊กในการเขียนบันทึกความคิด โดยมองว่าเฟสบุ๊ก เป็นพื้นที่สำหรับ การแสดง ความคิดผ่านทางการเขียน บันทึกที่ทำให้รู้สึกผ่อนคลายกว่าใน ชั้นเรียน อย่างไรก็ตามยังได้พบว่า นักศึกษาบางคนไม่ได้ให้ความสนใจกับการเรียนรู้เมื่อ ได้ใช้เฟสบุ๊ก ผลที่พบ จากการสัมภาษณ์กลุ่มช่วยให้ สามารถแยกแยะ ปัญหาของนักศึกษาแต่ละคน ได้ มีการแนะนำ ให้ ทำการศกึ ษาเพิ่มเติมเพื่อ สำรวจว่าสื่อสังคมประเภทต่าง ๆส่งผลกระทบต่อการ เรยี นรู้ภาษาผ่านการ เขียนของนักศึกษาไทยได้อย่างไร
WALAILAK UNIVERSITY. CENTER FOR LIBRARY RESOURCES AND EDUCATIONAL MEDIA
Address: NAKON SI THAMMARAT
Email: clm@wu.ac.th
Role: Advisory Committee Chairman
Created: 2559
Modified: 2559-06-21
Issued: 2559-06-21
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: PE1119 K16 2014
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Front Page.pdf 73 KB13 2024-08-06 13:04:22
2 Abstract.pdf 117.95 KB23 2024-08-06 13:04:08
3 Chapter 1.pdf 39.41 KB35 2024-08-07 12:44:18
4 Chapter 2.pdf 67.93 KB39 2023-02-04 13:06:07
5 Chapter 3.pdf 78.31 KB12 2024-08-06 13:04:52
6 Chapter 4.pdf 475.67 KB11 2020-03-19 13:58:25
7 Chapter 5.pdf 75.46 KB11 2020-03-19 13:58:32
8 Bibliography.pdf 52.74 KB8 2020-03-19 13:51:35
9 Appendix.pdf 141.23 KB16 2020-07-14 13:49:59
10 CV.pdf 9.21 KB18 2020-03-19 13:50:59
ใช้เวลา
0.085237 วินาที

Anchalee Chayanuvat
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 26
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,827
รวม 2,853 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 101,155 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 203 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 170 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 26 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 14 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 101,574 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48