แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความใฝ่รู้จากการบูรณาการอีเลิร์นนิ่งในการเรียนของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Factors affecting inquiry mind of Chulalongkorn University undergraduate students from an e-learning classroom integration

ThaSH: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -- นักศึกษา
ThaSH: การเรียนการสอนผ่านเว็บ
ThaSH: การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
ThaSH: การเรียนรู้ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาระดับความใฝ่รู้ของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความใฝ่รู้กับตัวแปรในด้านบทบาทผู้สอน คุณลักษณะผู้เรียน การสนับสนุนนโยบายของมหาวิทยาลัย โครงสร้างพื้นฐาน คุณลักษณะระบบบริหารจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน ลักษณะของสื่ออีเลิร์นนิ่ง และการประเมิน (3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความใฝ่รู้จากการบูรณาการอีเลิร์นนิ่งในการเรียนของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประชากรที่ใช้ในครั้งนี้คือ นิสิตระดับปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยใช้วิธีการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) จากทั้งหมด 18 คณะ 1 สำนักวิชา ซึ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น นิสิตระดับปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่มีการบูรณาการระบบบริหารจัดการเรียนรู้ในการเรียน ปีการศึกษา 2553 จำนวน 540 คน การเก็บข้อมูลเป็นการเก็บแบบลูกโซ่และแบบโดยบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม ซึ่งประกอบไปด้วยตัวแปรจำนวน 54 ตัวแปร จากปัจจัยทั้ง 8 ด้าน คือ ปัจจัยด้านบทบาทผู้สอน ปัจจัยด้านคุณลักษณะผู้เรียน ปัจจัยด้านการสนับสนุนนโยบายของมหาวิทยาลัย ปัจจัยด้านโครงสร้างพื้นฐาน ปัจจัยด้านคุณลักษณะระบบบริหารจัดการเรียนรู้ ปัจจัยด้านการจัดการเรียนการสอน ปัจจัยด้านลักษณะของสื่ออีเลิร์นนิ่ง และปัจจัยด้านการประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติการวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) นิสิตระดับปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยที่มีการบูรณาการอีเลิร์นนิ่งในการเรียนมีความใฝ่รู้อยู่ในระดับปานกลาง 2) ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 กับความใฝ่รู้ของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีจำนวน 29 ตัวแปร โดยตัวแปรที่มีความสัมพันธ์สูงที่สุด 3 อันดับแรก คือ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียน การสอนการคิดวิเคราะห์ และการมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน 3) การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้น มีตัวแปรที่สามารถอธิบายปัจจัยจากการบูรณาการ อีเลิร์นนิ่งที่ส่งผลต่อความใฝ่รู้ในการเรียนของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 7 ตัวแปร ดังนี้ คือ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การทำกิจกรรมกลุ่มระหว่างผู้เรียนแบบพบหน้า การสอนการคิดวิเคราะห์ เว็บไซต์ที่เสริมเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาการเรียน การให้ศึกษาเนื้อหาบทเรียนจากหนังสือตำรา การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบอัตนัย (เติมคำและบรรยาย) และการศึกษาเนื้อหาบทเรียนออนไลน์ โดยตัวแปรที่พบในแต่ละขั้นสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของความใฝ่รู้ได้เท่ากับ 21.3%
Abstract: The purpose of this research was to study factors affecting an inquiry mind of Chulalongkorn University (CU) undergraduate students with the e-learning classroom integration. The sampling was selected from 19 faculties, the academic year of 2010 at CU with a Stratified Random Sampling technique. The research instrument was a questionnaire survey. The instrument consisted of items covered the 54 variables and 8 factors of the instructor, the student, the policy’s support of the university, infrastructure, the learning management system, the pedagogy, the e-learning material and the assessment. The data were collected by a non-probability sampling methods, using snow ball and an Accidental Sampling techniques. The numbers of 540 respondents were completed to ensure its validity. The data was finally analyzed by mean, standard deviation, Pearson’s product moment correlation, and multiple regression analysis. The finding revealed that: 1) The undergraduate students rated their inquiry mind as moderate 2) There were statistically significant positive relationship at the .05 level between the inquiry mind and 29 selected variables. The top three variables were the students’ analytical thinking ability, analytical thinking pedagogy, and student’s learn participation. 3) Multiple regression analysis was at the .05 level using the stepwise method. There were 7 predicted variables that affected inquiry mind ,which were student’s analytical thinking ability, student’s face-to-face activities, analytical thinking pedagogy, website with related learning content, studying from academic text book, assessment test (Open-ended Item), and studying the content online. These predicted variables together were able to account for 21.3% of the variance.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2554
Modified: 2559-03-26
Issued: 2559-03-26
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33597
tha
Spatial: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 pattaraporn_uo.pdf 2.21 MB109 2023-07-02 21:19:38
ใช้เวลา
0.017407 วินาที

ใจทิพย์ ณ สงขลา
Title Creator Type and Date Create
ผลของรูปแบบการนำทางในบทเรียนความเป็นจริงเสมือนบนเว็บ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีรูปแบบการคิดต่างกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ศิวนิต อรรถวุฒิกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของรูปแบบการนำเสนอสตรีมมิ่งมีเดียการสอนแบบบรรยายในการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
พีรพงศ์ แจ่มรังษี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการใช้ภาพพาโนรามาเสมือนในการศึกษานอกสถานที่บนเว็บที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
นภาภรณ์ ยอดสิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒารูปแบบการวัดประเมินตามสภาพจริง จากการเรียนอิเล็กทรอนิส์ที่ใช้วิธีการเรียนตามสถานการณ์ ที่ส่งผลต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองของผู้เรียนในสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ศิริชัย กาญจนวาสี
ทวีวัฒน์ วัฒนกุลเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของรูปแบบการคิดและการควบคุมผลป้อนกลับในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบฝึกปฏิบัติที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
สุรีรัตน์ คนล้ำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการใช้สัญญาการเรียนในระบบการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตปริญญาตรีที่มีระดับความรู้ก่อนเรียนต่างกัน ในการเรียนวิชาพื้นฐานคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
จิระพรรณ คณาสวัสดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของรูปแบบการปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนในการฝึกอบรมโดยใช้เกมเป็นฐานบนเว็บที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของบุคลากรศูนย์ฝึกอบรมและควบคุมระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
บุญชู บุญลิขิตศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอรูปแบบเว็บไซต์โทรทัศน์เพื่อการศึกษาทางอินเทอร์เน็ต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ศุภกร เนียมถนอม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการเรียนแบบสถานการณ์จำลองบนเว็บโดยใช้บล็อกเพื่อสะท้อนการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อเรื่องยาเสพติดของนัก เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
บุญรัตน์ แผลงศร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบโครงข่ายเพื่อการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ปานใจ ธารทัศนวงศ์
พิชยา พรมาลี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร่วมมือตามแนวคิดการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อสร้างพฤติกรรมการสร้างความรู้ของนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง
ศิวนิต อรรถวุฒิกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนออนไลน์ในสถานการณ์จำลองที่มีต่อทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคลของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ดวงธิดา รักษาแก้ว
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการสอนเสริมด้วยพอดคาสต์โดยใช้กลวิธีในการกำกับตนเองในรายวิชา การผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษา ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการกำกับตนเองของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
อานวัฒน์ บุตรจันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของส่วนต่อประสานกับผู้ใช้แบบอุปมาและความสามารถในการใช้เบราว์เซอร์ที่มีต่อการเข้าถึงข้อมูลในระบบสนับสนุนสมรรถนะการทำงานด้วยเว็บ ของผู้รับการฝึกอบรมของกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ปภิญญา ทองสมจิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาตัวบ่งชี้ความสำเร็จของระบบการเรียนการสอนอีเลิร์นนิ่งสำหรับสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ศิริเดช สุชีวะ
กนกพร ฉันทนารุ่งภักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนทางไกลเชิงพุทธของสถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมช่อง ดี เอ็ม ซี ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุกรี รอดโพธิ์ทอง;ใจทิพย์ ณ สงขลา
วีระ สุภะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ด้วยวิธีการค้นพบโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารตามแนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนนักปฏิบัติและชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 และการมีส่วนร่วมของชุมชน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ประกอบ กรณีกิจ
สายสุนีย์ เทพสุขเอี่ยม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบเครือข่ายสังคมผ่านระบบออนไลน์ด้วยทฤษฎีการเรียนรู้เชิงสถานการณ์เพือเสริมสร้างความตระหนักระหว่างวัฒนธรรมของผู้เรียนภาษาต่างประเทศ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
สรญา สาระสุภาพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการเรียนร่วมเพื่อสร้างชุมชนการเรียนรู้ออนไลน์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับนักศึกษาปริญญาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
ฐิติยา เนตรวงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วยระบบปรับเหมาะการเรียนแบบปฏิบัตจริง ตามวิธีการคอนสตรัคติวิสต์สำหรับข้าราชการ กระทรวงพลังงาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ศิริเดช สุชีวะ
วิชิต เทพประสิทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากระบวนการสร้างความรู้ในชุมชนการเรียนรู้เชิงเสมือนสำหรับนักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;อนุชัย ธีระเรืองไชยศรี
บุญชู บุญลิขิตศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบยูเลิร์นนิ่งโดยใช้แนวคิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติและการเรียนรู้แบบโครงการเป็นฐานเพื่อสร้างนวัตกรรมเทคโนโลยีวัสดุศาสตร์สำหรับผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;เกียรติศักดิ์ พันธ์ลำเจียก
ชรีย์พร ภูมา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบห้องเรียนเสมือนโดยใช้การเรียนการสอนแบบซินเนคติกส์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาครู
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประกอบ กรณีกิจ;ใจทิพย์ ณ สงขลา
สรัญญา เชื้อทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบเลิร์นนิ่งอ็อบเจกต์เพื่อเสริมสร้างการสร้างความรู้และทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;อนุชัย ธีระเรืองไชยศรี
ศยามน อินสะอาด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาชีพแบบผสมผสาน โดยใช้โครงงานเป็นฐานในสถานประกอบการเพื่อพัฒนาการปฏิบัติงานและการแก้ปัญหา สำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช่างอุตสาหกรรม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ปรัชญนันท์ นิลสุข
สุวัฒน์ นิยมไทย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้บนบล็อกด้วยเทคนิคการเล่าเรื่องตามหลักการการนำตนเองที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
สุนัชฌา ไชยกาล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการสอนแบบคิดนอกกรอบบนเว็บที่มีต่อการสร้างสรรค์งานกราฟิกสามมิติด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีแบบการเรียนต่างกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ทศพล ศิลลา
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการฝึกอบรมเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสร้างความรู้และเพื่อนผู้เชี่ยวชาญผ่านวิกิ สำหรับนิสิตนักศึกษาครู
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ใจทิพย์ ณ สงขลา
อรญา อำนาจเจริญพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ระบบเทคโนโลยีขับเคลื่อนชุมชนสร้างสรรค์นวัตกรรมตามแนวทางการคิดเชิงออกแบบและการประเมินชุมชนแบบมีส่วนร่วมโดยนักพัฒนาชุมชนและนิสิตอาสา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ศิริวรรณ ศิลาพัชรนันท์
ปภิญญา ทองสมจิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ระบบการเรียนแบบกลุ่มสืบสอบบนแหล่งทรัพยากรด้านการศึกษาแบบเปิดเพื่อส่งเสริมการรู้สารสนเทศดิจิทัลและการรับรู้ทางจริยธรรมทางสารสนเทศของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
สุกานดา จงเสริมตระกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากระบวนการฝึกอบรมครูด้วยเครือข่ายครูและแนวคิดการออกแบบเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา ;เนาวนิตย์ สงคราม
ปิยานี จิตร์เจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความใฝ่รู้จากการบูรณาการอีเลิร์นนิ่งในการเรียนของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ใจทิพย์ ณ สงขลา
ภัทรพร อุณหเศรษฐ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของมินิเกมที่มีการกำกับตนเองที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการอ่านภาษาอังกฤษอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
สิทธิกรานต์ อนุกูลรังสรรค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาทรัพยากรการศึกษาแบบเปิดตามแนวคิดการเรียนรู้ด้วยการรับใช้สังคมเพื่อส่งเสริมจิตสาธารณะและการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา ;จินตวีร์ คล้ายสังข์
ปกเกศ ชนะโยธา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบจัดการความรู้ส่วนบุคคลที่ใช้สัญญาการเรียนรู้และเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อส่งเสริมความสามารถในการทำงานวิชาการของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา ;อรจรีย์ ณ ตะกั่วทุ่ง
เชิดวงศ์ หงษ์ศรีจินดา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้แบบสืบสอบเสมือนเพื่อเสริมสร้างความสามารถด้านการอ่านเชิงวิชาการของนิสิตปริญญาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จินตวีร์ คล้ายสังข์ ;ใจทิพย์ ณ สงขลา
สรคม ดิสสะมาน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ระบบการเรียนบนห้องเรียนเสมือนแบบคลาวด์ตามแนวคิดการเรียนรู้คอนเน็คติวิสม์เพื่อส่งเสริมการรู้สารสนเทศและการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านการรู้สารสนเทศสำหรับนิสิตนักศึกษาปริญญาตรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประกอบ กรณีกิจ;ใจทิพย์ ณ สงขลา
กุลชัย กุลตวนิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บนสื่อสังคมออนไลน์ด้วยการสืบสอบแบบชื่นชมจากกรณีตัวอย่างที่มีต่อการคิดขั้นสูงสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 : การวิเคราะห์เครือข่ายสังคมออนไลน์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ใจทิพย์ ณ สงขลา
ญาณี นาแถมพลอย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการแทรกเทคนิคการตั้งคำถาม 5W1H ในวิดีโอบรรยายออนดีมานด์บนเว็บ 2.0 ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการแก้ปัญหาของนิสิตปริญญาตรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ใจทิพย์ ณ สงขลา
นรินธน์ นนทมาลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายสังคมเชิงเสมือนสำหรับห้องเรียนพหุวัฒนธรรมเพื่อการสร้างความรู้และความตระหนักในคุณค่าทางวัฒนธรรมสำหรับนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;จินตวีร์ คล้ายสังข์;ใจทิพย์ ณ สงขลา
โอภาส เกาไศยาภรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการใช้สาระอิงบริบทและวีดิทัศน์ตามประสงค์ในการศึกษานอกสถานที่เสมือนที่มีต่อกระบวนการคิดวิเคราะห์ของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ใจทิพย์ ณ สงขลา
พิมพ์ชนก โพธิปัสสา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาประเด็นนโยบายแฟ้มผลงานอิเล็กทรอนิกส์ในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศศิฉาย ธนะมัย ;สาโรช โศภีรักข์;ใจทิพย์ ณ สงขลา
ฉัตรชัย เลิศวิริยะภากร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโปรแกรมการเสริมประสบการณ์การเรียนรู้วิชา เทเบิลเทนนิสโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งเสริมผลลัพธ์การเรียนรู้ของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;สมบูรณ์ อินทร์ถมยา;ใจทิพย์ ณ สงขลา
เติมเพชร สุขคณาภิบาล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบการเรียนการสอนแบบเสริมศักยภาพการอ่านโดยใช้ มายด์ทูลด้วยข้อมูลเชิงหลักฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านและการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีปัญหาทางการอ่าน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ใจทิพย์ ณ สงขลา;มณีรัตน์ สุกโชติรัตน์
ฉัตรวรรณ์ ลัญฉวรรธนะกร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบการสอนเสริมทางไกลอิเล็กทรอนิกส์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จินตวีร์ คล้ายสังข์;ใจทิพย์ ณ สงขลา
ธนัทณัฏฐ์ ฉัตรภัครัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบสิ่งแวดล้อมเสมือนที่เน้นการคิดวิจารณญาณเพื่อสนับสนุนกระบวนการเขียนบทความวิจัยสำหรับนิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ก้องเกียรติ หิรัญเกิด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนด้วยหลักการเรียนรู้โดยการรับใช้สังคมโดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกันในการทำโครงงานเพื่อสร้างจิตสำนึกสาธารณะของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประกอบ กรณีกิจ ;ใจทิพย์ ณ สงขลา
อัญชนา สุขสมจิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการประเมินผลการเรียนรู้ในการเรียนการสอนบนเว็บสำหรับอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
นพิดา พุดสโต
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของกระบวนการเรียนรู้และการแสดงผลการเชื่อมโยงบนเว็บที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ของนิสิตปริญญาบัณฑิตชั้นปีที่ 1
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
จักรพงษ์ กิจเปรมถาวร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของแบบรายการเลือกในการเรียนการสอนด้วยเว็บเรื่องการใช้โปรแกรมประมวลผลคำที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิตที่มีแบบการเรียนต่างกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
จิรพล ภักดีประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวคิดการคิดเป็นบนเว็บในวิชาสังคมศึกษา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ปริยาภรณ์ ชูทัพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบโปรแกรมสนทนาออนไลน์ที่ใช้เทคนิคกระบวนการกลุ่มที่มีผลต่อพฤติกรรมการมีส่วนร่วม สำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ใจทิพย์ ณ สงขลา
วิโรจน์ วโรดมปราโมทย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการสื่อสารด้วยการสนทนาและกระดานข่าวบนเว็บในการเรียนแบบโครง การบนเว็บที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความร่วมมือในการทำงานกลุ่มของ เด็กที่มีความสามารถพิเศษ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุวิมล วัชราภัย ;ใจทิพย์ ณ สงขลา
อภิรดี ประดิษฐสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอแนวทางเลือกวิธีการฝึกอบรมบนเว็บ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ศุภกฤตา สายทองคำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการใช้คอคนิทีฟทูล ความรู้เบื้องต้น และเมตาคอคนิชันที่มีต่อความสำเร็จ ในการสืบค้นข้อมูลบนเวิลด์ไวด์เว็บ ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุวิมล วัชราภัย;ใจทิพย์ ณ สงขลา
พรรณราย เทียมทัน
วิทยานิพนธ์/Thesis
กลยุทธ์การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการจัดการศึกษาโรงเรียนประถมเพื่อนำไปสู่ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21: การใช้วิธีการเทียบเคียงสมรรถนะ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ศิริเดช สุชีวะ
ชวาลี สกุลเอี่ยมไพบูลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการเรียนรู้จากสื่อเออาร์แบบจัดกระทำในสถานการณ์จำลองที่มีผลต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ใจทิพย์ ณ สงขลา
ธัญญาพร เจียศิริพันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบห้องเรียนเสมือนที่ใช้ภารกิจปฏิบัติการอ้างเหตุผลเพื่อส่งเสริมความสามารถในการให้เหตุผลเชิงวิเคราะห์สำหรับผู้เรียนระดับบัณฑิตศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ศิริเดช สุชีวะ
ภัทราพร อมรไชย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการใช้พอดคาสต์ในการฝึกสอนแบบจุลภาคด้วยตัวแบบระดับต่างกันที่มีต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองและสมรรถนะการสอนของนิสิตนักศึกษาครุศาสตร์ศึกษาศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
วรวรรณ ก่อกอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเสมือนภายใต้แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยใช้กรณีศึกษาเป็นฐานเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาของนิสิตปริญญาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จินตวีร์ คล้ายสังข์;ใจทิพย์ ณ สงขลา
เกษมสันต์ สกุลรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการออกแบบการสอนแบบเปิดด้วยวิธีการคิดอย่างเป็นระบบและกระบวนการกลุ่มโดยใช้วิดีโอเป็นฐาน เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของผู้เรียนระดับอุดมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ศยามน อินสะอาด
นรินธน์ นนทมาลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบชุมชนสืบสอบอย่างมีส่วนร่วมระหว่างครูและผู้ปกครองเพื่อส่งเสริมการรู้สารสนเทศของครูโรงเรียนเอกชน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธีรวดี ถังคบุตร;ใจทิพย์ ณ สงขลา
วรศักดิ์ อัครเดชเรืองศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบสภาพแวดล้อมเชิงสร้างสรรค์ออนไลน์ตามแนวคิดหุ้นส่วนภาคเอกชนที่เสริมสร้างพฤติกรรมการสร้างนวัตกรรมของครูปฐมวัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ธีรวดี ถังคบุตร;ใจทิพย์ ณ สงขลา
พรรณพิลาศ เกิดวิชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของกลุ่มสนับสนุนทางสังคมที่มีบุคลิกภาพต่างกันในการพัฒนาแฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส์แบบสะท้อนคิดตามทฤษฎีกิจกรรมที่มีต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านการตัดสินใจเลือกอาชีพของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
สุธนิต เวชโช
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการศึกษานอกสถานที่เสมือนแบบเรียลไทม์ที่มีต่อการรักความเป็นไทยของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พรสุข ตันตระรุ่งโรจน์;ใจทิพย์ ณ สงขลา
วลัยกร หงษ์ทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ในสถานประกอบการด้วยการเรียนรู้จากการปฏิบัติและการสื่อสารโน้มน้าวใจผ่านคอมพิวเตอร์สนับสนุนการทำงานร่วมกันเพื่อเสริมสร้างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของบุคลากรภายในองค์กรเอกชน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พรสุข ตันตระรุ่งโรจน์;ใจทิพย์ ณ สงขลา
นลินี คลังทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนโดยบูรณาการแนวคิดการแก้ปัญหาด้วยสารสนเทศการเสริมการเรียนรู้ และ Z TO A เพื่อสร้างผลงานสร้างสรรค์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เนาวนิตย์ สงคราม;ใจทิพย์ ณ สงขลา
ธิดารัตน์ ตันนิรัตร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการพัฒนามรดกดิจิทัลด้วยกระบวนการเล่าเรื่องดิจิทัลแบบสืบสอบอย่างมีวิจารณญาณบนเว็บ 30 เพื่อส่งเสริมการรู้ดิจิทัลของนิสิตนักศึกษาสารสนเทศศาสตร์ปริญญาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ปรัชญนันท์ นิลสุข
สิริวัจนา แก้วผนึก
วิทยานิพนธ์/Thesis
ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงานและการเรียนรู้ส่วนบุคคลเพื่อพัฒนาสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครู
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ศิริเดช สุชีวะ
ชยการ คีรีรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการใช้กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการการเรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความตระหนักต่อการเป็นพลเมืองดีของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 4
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
พณศรา มัทธุรศ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบเครือข่ายกัลยาณมิตรนิเทศด้วยการใช้เทคโนโลยีเว็บ 2.0 โดยการวัดและประเมินตามสภาพจริง เพื่อส่งเสริมสมรรถนะทางวิชาชีพของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;จินตวีร์ คล้ายสังข์;ใจทิพย์ ณ สงขลา
ปราโมทย์ พรหมขันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการพัฒนาทรัพยากรทางการศึกษาแบบเปิดตามแนวคิดการให้เหตุผลโดยใช้กรณีเป็นฐานและปัญญารวมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ของนิสิตนักศึกษาปริญญาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ปณิตา วรรณพิรุณ
พันทิพา อมรฤทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอรูปแบบเว็บไซต์สำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนนักปฏิบัติด้านดนตรีไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ณัชกฤษฏิฌาน์ แก้วละเอียด
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการเชื่อมโยงและรูปแบบเว็บเพจในการเรียนการสอนด้วยเว็บ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การแก้ปัญหา และการถ่ายโยงการเรียนรู้ ของนักศึกษาที่มีกระบวนการเรียนรู้ต่างกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;สุวิมล วัชราภัย;ดิเรก ศรีสุโข;ใจทิพย์ ณ สงขลา
ปรัชญนันท์ นิลสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการเรียนแบบสถานการณ์จำลองบนเว็บโดยใช้บล็อกเพื่อสะท้อนการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อเรื่องยาเสพติดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
บุญรัตน์ แผลงศร
วิทยานิพนธ์/Thesis
โมเดลการออกแบบสถานการณ์จำลองเสมือนจริงที่ส่งเสริมการสร้างแบบจำลองคอมพิวเตอร์และการให้เหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ด้วยการสืบสอบบนฐานการโต้แย้ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พรสุข ตันตระรุ่งโรจน์;ใจทิพย์ ณ สงขลา
เจตนิพิฐ แท่นทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรฐานการจัดการสื่อและทรัพยากรการเรียนรู้สำหรับโรงเรียนในศตวรรษที่21
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ทองจันทร์ เติมจิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาชุดการสอนงานด้วยเว็บแอปพลิเคชันจำลองกระบวนการทางธุรกิจเพื่อส่งเสริมความสามารถในการตัดสินใจของหัวหน้างานระดับต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ภัทรา จันทร์เกิด
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการเรียนแบบค้นพบบนเว็บโดยใช้สถานการณ์จำลองที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีแบบการคิดต่างกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
บงกช ศรีสมัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบการควบคุมการเคลื่อนที่แบบอิสระและแบบจำกัดของบทเรียนเสมือนจริงบนเว็บที่มีต่อความเข้าใจในการเรียนวิชาชีววิทยา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ใจทิพย์ ณ สงขลา
มิ่งขวัญ ทรัพย์ถาวร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของบทบาทสมมติเทคนิคการแสดงคู่ในการเรียนการสอนบนเว็บวิชาสุขศึกษา ที่มีต่อการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนช่วงชั้นที่ 2
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ใจทิพย์ ณ สงขลา
อนุชา ต้นสายเพ็ชร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาหนังสือการ์ตูนเออาร์ด้วยเทคนิค PWIM เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านสำหรับนักเรียนประถมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
พีริยา หาญบำรุงธรรม
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการฝึกงานทางไกลด้านเทคโนโลยีการศึกษาที่ส่งเสริมทักษะการรู้ดิจิทัลของครูก่อนประจำการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ปองสิชฌ์ สิงห์ประไพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานและเทคนิคการคิดนอกกรอบบนโลกเสมือนจริงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์สำหรับนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ประกอบ กรณีกิจ;ใจทิพย์ ณ สงขลา
พีรภัทร ฉัตรสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาระบบชี้แนะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีรูปแบบบุคลิกภาพเอ็นเนียแกรมเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครู
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ประกอบ กรณีกิจ;ใจทิพย์ ณ สงขลา
วราลี ฉิมทองดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนากิจกรรมดิจิทัลแคมป์โดยใช้เทคนิคการประเมินโดยเพื่อนเพื่อส่งเสริมการรู้ดิจิทัลของนิสิตนักศึกษาวิชาชีพครู
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
ชาฤทธิ์ วิริยะชาญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพแบบอิเล็กทรอนิกส์โดยการโค้ชเพื่อส่งเสริมสมรรถนะครูของนิสิต/ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา
กาญจนา เชื้อหอม
วิทยานิพนธ์/Thesis
นวัตกรรมแอปพลิเคชันตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนเพื่อส่งเสริมการรับรู้ความสามารถตนเอง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ใจทิพย์ ณ สงขลา;ศิริเดช สุชีวะ;อาธร เหลืองสดใส
ฉัททวุฒิ พีชผล
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 487
รวม 487 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 37,185 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 22 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 8 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 5 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 37,223 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48