แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

โมเดลทางชีวกลศาสตร์ของการเปลี่ยนแปลงความเค้นของกระดูกสะบ้าจากรองเท้าวิ่งที่ผ่านการใช้งานจนเสื่อม
BIOMECHANICAL MODEL OF STRESS CHANGES IN PATELLOFEMORAL JOINT WITH WORN OUT RUNNING SHOES

ThaSH: ชีวกลศาสตร์
ThaSH: รองเท้ากีฬา
ThaSH: ข้อเข่า
ThaSH: ความเครียดและความเค้น
Abstract: รองเท้าวิ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยลดการบาดเจ็บของนักวิ่ง งานวิจัยครั้งนี้ ต้องการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของค่าความเค้นของข้อต่อ patellofemoral ของรองเท้าวิ่งที่เสื่อมสภาพ การศึกษานี้แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนการวิจัย โดยขั้นตอนแรก คือ การสร้างและพัฒนาเครื่องจำลองการวิ่ง (running simulation machine-RSM) ซึ่งมีลักษณะคล้ายล้อเกวียน เครื่อง RSM นี้ถูกออกแบบและปรับเทียบเพื่อจำลองกลไกการวิ่งของนักวิ่งหญิงที่มีน้ำหนัก 55-58 กก. และ เครื่องมีการสอบเทียบ ค่าแรงกระแทกในแนวดิ่งที่ impack peak และ active peak , ระยะเวลาการสัมผัสพื้นของเท้า , รูปแบบการกระจายน้ำหนัก และ การเคลื่อนไหวของศูนย์กลางของแรงกด ที่เสมือนกับการวิ่งจริง ขั้นตอนการวิจัยลำดับถัดไป คือ ศึกษาความสามารถในการดูดซับหรือรับแรงกระแทก (shock absorption capability –SAC) ของรองเท้าวิ่งเก่าที่เสื่อมสภาพแล้ว ในการศึกษาครั้งนี้ ได้ทำการคัดเลือกนักวิ่งหญิง 9 คน และ ให้สวมรองเท้าวิ่งที่แผ่นพื้น EVA ซึ่งถูกทำให้เสื่อมสภาพที่ระยะการวิ่งมามากกว่า 800 กม. (8x100) และวัดค่าแรงกระแทกในแนวดิ่ง (VGRFs) และ SAC โดยวิธี force plate และ F-scan ก่อนและหลังการวิ่งทุก 100 กม. ค่า SAC ถูกคำนวณจากผลต่างระหว่าง VGRFs โดยวิธี force plate และ F-scan ทำการวัดซ้ำและใช้ One way ANOVA ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า รองเท้าวิ่งใหม่สามารถดูดซับแรงกระแทก 70% ของมวลกายนักวิ่ง และ ค่า SAC จะมีความแตกต่างทางสถิติตามระยะทางของการวิ่ง โดยค่า SAC จะลดลงเมื่อระยะทางของการวิ่งเพิ่มขึ้น การวิเคราะห์แบบ Post Hoc ชี้ให้เห็นว่าค่า SAC จะลดลงอย่างเห็นได้ชัดที่ระยะทางการวิ่ง 300 กม. และที่ระยะการวิ่ง 300 กม. นี้ รองเท้าวิ่งสามารถดูดซับแรงกระแทกได้เพียง 60% ของมวลกายนักวิ่ง หรือ ประมาณ 35% ของค่าแรงกระแทก ขั้นตอนสุดท้าย ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของความเค้น (stress) ของข้อต่อ patellofemoral (SPFJ) ของรองเท้าวิ่งเก่าที่เสื่อมสภาพแล้ว ค่า stress อ้างอิงจากโมเดลของ Roos et al.(2012) และแรงกระทำของเข่า (Knee moment) หาได้จากวิธี Inverse dynamic technique ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า เมื่อระยะทางการวิ่งเพิ่มขึ้น ค่า SPFJ ก็จะเพิ่มขึ้นด้วย โดยที่ระยะทางการวิ่ง 800 กม. ค่า SPFJ จะเพิ่มขึ้นมากกว่าค่า SPFJ ของรองเท้าวิ่งใหม่ถึง 20% อย่างไรก็ตาม ค่า SPFJ ที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ จะต่ำกว่า critical stress ที่ทำให้เกิดการบาดเจ็บจากงานวิจัยอื่นๆ และจากการศึกษานี้ ค่าเฉลี่ย SPFJ ที่ 800 กม. (ค่า SPFJ สูงสุด) จะเท่ากับ 10 MPa
Abstract: Running shoes are important to runners as they can help reduce injury in runners. In this study, we wanted to find the changes of stress in patellofemoral joint in worn out shoes. The study was divided into three projects. The first project pertained to the building and development of a running simulation machine (RSM), which was looked like a cartwheel. The RSM was designed and calibrated to mimic running mechanic of female runners weighted between 55-58 kgs. The RSM was calibrated such that vertical ground reaction forces at impact peaks and active peaks, foot contact time, patterns of weight distribution, and the movement of center of pressure produced by RSM was similar to those produced by actual running. After the first project, the objective of the second project was to study the shock absorption capability (SAC) in worn out running shoes. In this study, nine female runners were recruited to the study. The participants were asked to wear EVA midsole running shoes, which were made deteriorated over 800 (8×100) kms. Vertical ground reaction forces (VGRFs) and SAC were measured from the force plate and F-scan before and after each 100-km. SAC was calculated as the difference between VGRFs measured by force plate and F-scan. One way ANOVA with repeated measures were used to analyse the data. The results showed that new running shoes could absorb 70% of body weight, and SAC of running shoes were statistically different over running distances. SAC decreased as running distances increased. A post hoc analysis suggested that 300-km was a critical running distance after which SAC decreased markedly. At 300 kms, running shoes could absorb only 60% of body weight or around 35% of impact force. The final project found the changes of stress at patellofemoral joint (SPFJ) among worn out shoes. The stress could be found from the model suggested by Roos et al. (2012), and the knee moments were found using inverse dynamic technique. The results showed that as running distances increased, SPFJ also increased, where at 800 km, SPFJ was 20% greater than SPFJ found in new shoes. However, SPFJ found in the study was lower than critical stress causing injury reported by other papers. In this study, the average SPFJ at 800 km (which was the maximum SPFJ) was 10 MPa
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2556
Modified: 2559-02-23
Issued: 2559-02-23
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 5178955839.pdf 5.93 MB36 2021-08-27 11:44:40
ใช้เวลา
0.03984 วินาที

ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
Title Creator Type and Date Create
ผลการฝึกโพรไพรโอเซ็ฟทีฟที่มีต่อความคล่องแคล่วว่องไวและการทรงตัวในนักกีฬาฟุตบอล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชนินทร์ชัย อินทิราภรณ์;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
ณัฐพงษ์ ชัยพัฒน์ปรีชา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบการฝึกพลังกล้ามเนื้อแบบเอ็คเซ็นตริกและการฝึกเด็พธ์จัมพ์ที่มีต่อสมรรถภาพของกล้ามเนื้อขาในนักกีฬาวอลเลย์บอลชาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชนินทร์ชัย อินทิราภรณ์;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
กัมปนาท ประดิษฐ์เสรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาวิธีการและเครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์เพื่อวัดความอ่อนตัวสำหรับผู้สูงวัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อารีรัตน์ สุพุทธิธาดา;ประวิตร เจนวรรธนะกุล;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
ทศพล ทองเติม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการกีฬาและการออกกำลังกายของโรงเรียนแต่ละเหล่า
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์

วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนวิชามวยไทยโดยใช้ผลการวิเคราะห์ทางชีวกลศาสตร์เพื่อสร้างเสริมความสามารถทางด้านคิเนแมติกส์ของนิสิตปริญญาบัณฑิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ถนอมวงศ์ กฤษณ์เพ็ชร์;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
สบสันติ์ มหานิยม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลของการออกกำลังกายด้วยการเดินร่วมกับการใช้น้ำหนักและไทชิที่มีผลในการทรงตัวของผู้สูงอายุเพศหญิง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
อมรเทพ วันดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาการจัดการโครงการพัฒนากีฬาชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
ธิติ จันทร์ศิรินทร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลของการฝึกแรงต้านด้วยยางยืดและฟรีโมชั่นที่มีต่อความ เร็วและแรงของการเตะเหยียบลงในนักกีฬาเทควันโดหญิง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
วีนัส ดอกจันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
โมเดลทางชีวกลศาสตร์ของการเปลี่ยนแปลงความเค้นของกระดูกสะบ้าจากรองเท้าวิ่งที่ผ่านการใช้งานจนเสื่อม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์;ภาสกร วัธนธาดา
บุรวัลย์ ผลมั่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบโปรแกรมการฝึกพลัยโอเมตริกบนพื้นทรายและพื้นแน่นที่มีต่อความสามารถในการกระโดดในแนวดิ่งของนักกีฬา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
ลดารัตน์ มะลิหวล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาความคุ้มค่าในการเป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก 2012
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
กัณณัฏฐ์ บุญครอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพในการปฏิบัติกิจกรรมและการนำไปใช้คัดกรองความเสี่ยงในการล้มและภาวะพึ่งพาในผู้สูงวัยไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์;อารีรัตน์ สุพุทธิธาดา;ประวิตร เจนวรรธนะกุล
เตชภณ ทองเติม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาต้นแบบระบบป้องกันผู้ป่วยพลัดตกจากเตียงโดยใช้เทคนิคการจำแนกท่าทาง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์ ;อัจฉรา จันทร์ฉาย
อมรรัตน์ แหวนเงิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการฝึกโปรแกรมการเคลื่อนที่ทางกีฬาบาสเกตบอล ที่มีต่อความคล่องแคล่วว่องไวและสมรรถภาพแอนแอโรบิกของนักกีฬาบาสเกตบอลหญิงระดับเยาวชน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
กันตพิชญ์ สมคง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อวิเคราะห์และทำนายผลการแข่งขันในกีฬาเทเบิลเทนนิส
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์ ;นคร ไพศาลกิตติสกุล
จีราธิวัฒน์ มะโนวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของชีวกลศาสตร์และกลศาสตร์ของห่วงที่มีต่อการออกกำลังกายด้วยฮูลาฮูป
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
เบญทิวา สุรศาสตร์พิศาล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ส่วนประสมทางการตลาดทีมีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้สนามแบดมินตัน ในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
เพียงขวัญ พัวรักษา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลการฝึกด้วยเครื่องออกกำลังกายแบบฟรีเวทที่ใช้แรงต้านจากแรงอัดอากาศ ผสมกับแรงต้านด้วยน้ำหนักในสัดส่วนที่แตกต่างกันต่อความแข็งแรงและพลังกล้ามเนื้อ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
กฤตมุข หล่าบรรเทา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบปัจจัยทางสรีรวิทยาระหว่างนักกีฬาว่ายน้ำระยะสั้นและระยะกลาง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
ภัทราพร ชัยสำเร็จ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลของการฝึกด้วยยางยืดสองรูปแบบที่มีต่อความเร็วในการเตะของนักกีฬาเซปักตะกร้อเยาวชนชาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
คชา อุดมตะคุ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบรูปแบบการเคลื่อนไหวทางคิเนเมติกส์ในทักษะเตะตัดบนของนักกีฬามวยไทยสมัครเล่นในการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ ครั้งที่ 42
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
ธราดล ดีประชา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยด้านการเป็นผู้สนับสนุนกิจกรรมกีฬา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์;อัจฉรา จันทร์ฉาย
สรศักย์ ชัยสถาผล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาปัจจัยและกระบวนการจัดการที่จะนำไปสู่ความสำเร็จของการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัย “กรณีศึกษาโครงการพัฒนากีฬาชาติ ชนิดกีฬาเทเบิลเทนนิส”
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์;ชโยดม สรรพศรี
อุษณี ทวีสัตย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างการทดสอบภาคสนาม โยโย่ อินเตอร์มิตเตนท์รีคัฟเวอรี่โดยทางตรงและทางอ้อมในนักกีฬาฮอกกี้
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
ธันย์ชนก อรุณรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อขณะตีลูกบอลในนักกีฬาฮอกกี้สนาม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
นพรัตน์ วิทยาการโกวิท
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างความถี่ในการเล่นกีฬา/ออกกำลังกายกับความความถี่ในการชมฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีกในสนาม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
พันธ์ลพ รัตนพงศ์พันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แบบจำลองการชกหมัดตรงที่ทรงประสิทธิภาพในกีฬามวย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์;พรเทพ ราชนาวี
รัตน์ ทองเอี่ยม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบผลการฝึกระบบโพรพริโอเซ็ฟทีฟระหว่างสตาร์เอ๊กเคิลชั่นบาลานเทรนนิ่ง กับการประยุกต์ใช้สตาร์เอ๊กเคิลชั่นบาลานเทรนนิ่งร่วมกับแอนเคิลดิสก์ ในนักกีฬาบาสเกตบอลวัยรุ่นที่มีภาวะความไม่มั่นคงของข้อเท้าเรื้อรัง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุรสา โค้งประเสริฐ;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
พรภณา สุธีระ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วเชิงมุมการหมุนสะโพกและลำตัวส่วนบน กับความเร็วหัวไม้ และระยะทางในการตีกอล์ฟ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
วินิธา ผึ้งถนอม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรทางชีวกลศาสตร์ของการว่ายน้ำ 200 เมตร ท่าฟรอนท์ ครอลในรยางค์ส่วนบนของนักกีฬาว่ายน้ำทีมชาติไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
อัครยา ศีลสังวรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบตัวแปรทางชีวกลศาสตร์ระหว่างการสวิงกอล์ฟบนพื้นที่ลาดเอียงที่ต่างกันในนักกีฬากอล์ฟสมัครเล่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
ชัชชานนท์ พูลสวัสดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาอุปกรณ์ออกกำลังกายที่ป้องกันการล้มสำหรับผู้สูงอายุที่มีปัญหาการทรงตัว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์;ปราณีต เพ็ญศรี;พักตร์ผจง วัฒนสินธุ์
จาริณี จิระพันธุ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรทางชีวกลศาสตร์ของการว่ายน้ำ 200 เมตร ท่าฟรอนท์ครอลในรยางค์ส่วนล่างของนักกีฬาว่ายน้ำทีมชาติไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Suthasinee Thongsiri.;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
สุธาศินี ทองศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่คาดหวังในการดำเนินงานของทีมกีฬาเทเบิลเทนนิสคนพิการทีมชาติไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
ลักขณาสิริ คงเดช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการจัดการทีมกีฬาว่ายน้ำของสมาคมว่ายน้ำแห่งประเทศไทยในการแข่งขันกีฬาเอเซี่ยนเกมส์ ครั้งที่ 16
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
สุริยา สุขสุภักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการฝึกแบกน้ำหนักกระโดดท่าสควอทด้วยความหนักเอ็คเซ็นตริกที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาความสามารถที่แสดงออกทางกีฬาในนักกีฬาบาสเกตบอลระดับมหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์;โรเบิร์ต นิวตัน
ธงทอง ทรงสุภาพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการฝึกด้วยแรงต้านแบบผสมผสานยางยืดโดยใช้คลัสเตอร์เซตต่อความแข็งแรงและพลังของท่าคลีนพูลในนักกีฬายกน้ำหนักยุวชน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์;ชนินทร์ชัย อินทิราภรณ
เสกข์ศักย์ ธิติศักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบตัวแปรทางชีวกลศาสตร์ของการชกหมัดตรงระหว่างการชกด้วยท่ายืนแบบเท้านำเท้าตามและแบบเท้าขนานกันในนักมวย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์
ภุชงค์ ศรีเพียงจันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ภาสกร วัธนธาดา
Title Creator Type and Date Create
ความน่าเชื่อถือของการวัดระยะทางการแกว่งของจุดศูนย์กลางแรงกดขณะยืนขาเดียว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาสกร วัธนธาดา;สมพล สงวนรังศิริกุล
บุรวัลย์ ผลมั่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างมุมของแนวไหล่กับแนวสะโพกขณะขึ้นไม้สุดสวิงและความเร็วหัวไม้กอล์ฟขณะกระทบลูก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาสกร วัธนธาดา;อรรถฤทธิ์ ศฤงคไพบูลย์
วิทพงศ์ สินสูงสุด
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างมุมของแนวไหล่กับแนวสะโพกขณะขึ้นไม้สุดสวิงและความเร็วหัวไม้กอล์ฟขณะกระทบลูก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาสกร วัธนธาดา;อรรถฤทธิ์ ศฤงคไพบูลย์
วิทพงศ์ สินสูงสุด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบันทึกคลื่นสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อโดยการติดขั้วบันทึกบนผิวหนังบริเวณกล้ามเนื้อลำตัว และกล้ามเนื้อรยางค์แขนในท่าตบทแยงคอร์ทระหว่างนักกีฬาแบดมินตันชาย ที่ระดับความสามารถต่างกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ภาสกร วัธนธาดา
วิภาพร ชำนาญกิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
โมเดลทางชีวกลศาสตร์ของการเปลี่ยนแปลงความเค้นของกระดูกสะบ้าจากรองเท้าวิ่งที่ผ่านการใช้งานจนเสื่อม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชัยพัฒน์ หล่อศิริรัตน์;ภาสกร วัธนธาดา
บุรวัลย์ ผลมั่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาผลจากแรงโน้มถ่วงของโลกที่จะมีต่อค่าความแข็งแรงของกลุ่มกล้ามเนื้อที่ทำหน้าที่ในการกาง และหุบสะโพกที่ทำการวัดด้วยเครื่องไอโซไคเนติกระหว่างท่านอนตะแคง และท่ายืน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาสกร วัธนธาดา
แก้วขวัญ ลีลาตระการกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาของลูกเทนนิสตั้งแต่ขณะลอยสูงสุดถึงขณะที่ลูกกระทบหน้าไม้และความเร็วของลูกเสิร์ฟในการแข่งขันเทนนิส
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาสกร วัธนธาดา; พงศ์ศักดิ์ ยุกตะนันทน์
ปาจรีย์ ศรีสมบัติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาคลื่นสัญญาณไฟฟ้ากล้ามเนื้อของกล้ามเนื้อ Adductor longus และกล้ามเนื้อขา ขณะเตะลูกฟุตบอลเมื่อสวมใส่กางเกงรัดกล้ามเนื้อในนักกีฬาฟุตบอลอาชีพชาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาสกร วัธนธาดา
ยงศักดิ์ เลิศดำรงเกียรติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 9
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,604
รวม 2,613 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 169,183 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 635 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 424 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 45 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 42 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 6 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 170,340 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48