แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Solidarity within the EU under the ESDP: EU’S involvement in Kosovo
เอกภาพของสหภาพยุโรปในนโยบายป้องกันและความมั่นคงร่วม : กรณีศึกษาการแก้ไขปัญหาวิกฤตในโคโซโวของสหภาพยุโรป

LCSH: World politics
LCSH: European Union
LCSH: National security -- European Union
LCSH: Security, International -- European Union
Abstract: EU’s Common security as the principle and policy started in the 1950s with European Defence Community (EDC) but it never came into existence. Since then, the development of the EU had focused largely upon economic aspects, while the security aspects were sidelined. Until the 1980s, the term security and defence were not in the treaties until 1992. Both Western European Union (WEU) and Common Foreign and Security Policy (CFSP) were immediately subjected to the test during the Yugoslav War of Dissolution. Unfortunately, the war exposed the lack of solidarity within the EU. Throughout the war, the EU and its members were not able to put an end to ongoing atrocity when the assistance from the US was not available. The war provided the impetus for the EU to enhance its own ability in the realm of security. In 2008, Kosovo, a former Yugoslav territory, decided to unilaterally declare its independence. This action immediately caused the split within the EU on the issue of recognition due to the lack of legitimate UN resolution. Yet, the EU’s members, including countries that disagreed with Kosovo’s unilateral independence, showed its solidarity by adopting EULEX Kosovo, a civilian mission under the pretext of ESDP. Thus, as shown in this study, the solidarity can be best understood through the lens of Rational Choice Institutionalism.
Abstract: ความมั่นคงร่วมในฐานะหลักการและนโยบายได้เริ่มขึ้นในช่วงทศวรรษ 1950 ในนามของประชาคมการป้องกันยุโรปซึ่งได้ประสบกับความล้มเหลว จากนั้นเป็นต้นมาการพัฒนาของสหภาพยุโรปก็ได้เน้นไปทางด้านเศรษฐกิจในขณะที่นโยบายความมั่นคงได้ถูกเพิกเฉยจนกระทั่งในช่วงทศวรรษ 1980 คำว่าความมั่นคงและการทหารนั้นไม่ได้รับการบรรจุลงในสนธิสัญญาบูรณาการยุโรปจนกระทั่งปี ค.ศ. 1992 ซึ่งทั้งสหภาพยุโรปตะวันตกและนโยบายการต่างประเทศและความมั่นคงร่วมได้ถูกนำมาทดสอบทันทีในช่วงสงครามยูโกสลาเวีย น่าเสียดายยิ่งที่สงครามนั้นได้เผยให้เห็นถึงการขาดเอกภาพภายในสหภาพยุโรป ตลอดระยะเวลาที่สงครามนั้น สหภาพยุโรปไม่สามารถที่จะยุติความโหดร้ายอันเกิดจากสงครามโดยไม่ได้รับความช่วยเหลือจากอเมริกา สงครามยูโกสลาเวียนั้นเป็นแรงผลักดันให้สหภาพยุโรปหันไปเพิ่มพูนความสามารถของตนในด้านความมั่นคง ในปี ค.ศ. 2008 โคโซโวซึ่งเป็นหนึ่งในดินแดนของยูโกสลาเวียนั้นได้ประกาศเอกราชโดยฝ่ายเดียว การกระทำดังกล่าวทำให้สหภาพยุโรปเกิดความแบ่งแยกว่าจะรับรองเอกราชหรือไม่ทั้งนี้เนื่องจากการประกาศเอกราชดังกล่าวขาดมติจากสภาความมั่นคงสหประชาชาติ ทว่า สมาชิกสหภาพยุโรปรวมทั้งประเทศสมาชิกที่ไม่เห็นด้วยกับการประกาศเอกราชของโคโซโวก็ได้แสดงเอกภาพโดยการลงมติยอมรับปฎิบัติการEULEX Kosovo ในกรอบของนโยบายการป้องกันและความมั่นคงร่วม งานวิจัยนี้ได้แสดงให้เห็นว่าเอกภาพของสหภาพยุโรปนั้นสามารถเข้าใจได้ดีที่สุดผ่าทฤษฏี Rational Choice Institutionalism
Chulalongkorn University. Office of Academic Resources
Address: BANGKOK
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: advisor
Created: 2011
Modified: 2015-12-18
Issued: 2015-12-18
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
URL: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28757
eng
Spatial: Kosovo
DegreeName: Master of Arts
Descipline: European Studies
©copyrights Chulalongkorn University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 chotiboon_an.pdf 1.5 MB23 2022-09-18 13:31:06
ใช้เวลา
0.0175 วินาที

Chotiboon Anukulvanich
Title Contributor Type
Solidarity within the EU under the ESDP: EU’S involvement in Kosovo
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Chotiboon Anukulvanich

Surat Horachaikul
วิทยานิพนธ์/Thesis
Surat Horachaikul
Title Creator Type and Date Create
How the EU' s CAP widens the disparity between the North and the South with a special reference to Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Surat Horachaikul
Pensuparng Vitthayanukorn
วิทยานิพนธ์/Thesis
European nuclear deterrence : an unattainable quest
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Surat Horachaikul
Kunz, Sandro
วิทยานิพนธ์/Thesis
The European union as Kantian neoliberalism
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Surat Horachaikul
Thitarat Sriwattanapong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Managing immigration of non-EU nationals : the case study of contemporary Britain
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Surat Horachaikul
Suchaya Tancharoenpol
วิทยานิพนธ์/Thesis
Balance between freedom of expression and social order : a case study of rights to protest in The United Kingdom
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Surat Horachaikul
Sasikarn Vittayachokkitikhun
วิทยานิพนธ์/Thesis
An analysis of public participation under community health impact assessment of Thailand : the case study of the gold mining project at Ban Na Nong Bong, Loei Province
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Surat Horachaikul
Siblesz, Steven Matthijs
วิทยานิพนธ์/Thesis
Going the wrong way ? trends and motivation in the North-South cross-border movement of tertiary students : the case study of European students in Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Surat Horachaikul
Schneider, Christian Elias
วิทยานิพนธ์/Thesis
Commonality in EU’s foreign policy under intergovernmentalism : the case study of EU s proactive reaction towards Iran
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วิรัช ศรีพงษ์;Surat Horachaikul
Wiraj Sripong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Solidarity within the EU under the ESDP: EU’S involvement in Kosovo
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Surat Horachaikul
Chotiboon Anukulvanich
วิทยานิพนธ์/Thesis
Neoliberalism and social protection : The case of food security among the people living with HIV and AIDS in Cambodia
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Surat Horachaikul
Bacaron, Marly Anne E.
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,326
รวม 2,328 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 67,969 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 34 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 10 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
รวม 68,022 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180