แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Design guidelines for mobile phone applications for the middleaged adults
แนวทางการออกแบบโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือสำหรับกลุ่มผู้ใช้งานวัยกลางคน

ThaSH: Cell phones -- Computer programs -- User satisfaction
ThaSH: Cell phones -- Design
ThaSH: Middle-aged persons
ThaSH: Middle age -- Health and hygiene
Abstract: The mobile phone technology has provided several benefits to old people by helping them improve their quality of life (QoL). For the current generation of elders, learning to use mobile phones has been a difficult task because they do not have much experience with the mobile phones when they were young. However, the current group of middle-aged adults, who are going to be the future generation of elders, already have a lot of experience with mobile phone usage. It is likely that these middle-aged adults will have different needs and requirements of mobile phone applications when they grow older. The purpose of this study is to investigate needs and requirements of middle-aged mobile phone users in regard to maintaining their quality of life in the future. The study used a questionnaire that consisted of questions asking respondents to rate the significance of different mobile applications. Two hundred respondents took part in the survey. The results showed that the health care applications received the highest percentage of respondents indicating that the applications must be included in the mobile phones. Finally, a prototype for mobile phone application has been designed and tested. The results of the tested prototypes have been shown accordingly for designing guidelines of mobile phone applications for the future generation of elderly mobile phone users.
Abstract: กลุ่มผู้สูงวัยในปัจจุบันไม่สามารถใช้ประโยชน์จากโทรศัพท์มือถือได้มากนัก เนื่องจากขาด ประสบการณ์และความคุ้นเคยในการใช้งาน อย่างไรก็ตาม กลุ่มผู้ใช้งานโทรศัพท์มือถือวัยกลางคน ในปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นผู้สูงวัยในอนาคตน้ัน มีประสบการณ์และความคุ้นเคยในการใช้งาน โทรศัพท์มือถือมากขึ้น เมื่อผู้ใช้งานวัยกลางคนเหล่านี้มีอายุมากขึ้น อาจมีความต้องการในการใช้ งานโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือที่แตกต่างจากกลุ่มผู้สูงวัยในปัจจุบัน งานวิจัยนี้ศึกษา ความจำเป็ นและความต้องการในการใช้งานโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือของผู้ใช้ โทรศัพท์มือถือวัยกลางคน เพื่อรักษาระดับคุณภาพชีวิตในอนาคต ในการวิจัยนี้ ผู้ตอบ แบบสอบถามจำนวน 200 คนให้คะแนนความสำคัญของโปรแกรมประยุกต์ประเภทต่างๆบน โทรศัพท์มือถือ ผลการสำรวจพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามให้คะแนนโดยคิดเป็นร้อยละสูงสุดในส่วน ของโปรแกรมประยุกต์ที่เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพว่าควรมีอยู่ในโทรศัพท์มือถือ ต้นแบบสำหรับ โปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือได้รับการออกแบบและทดสอบในข้ันตอนสุดท้ายเพื่อใช้เป็น แนวทางในการออกแบบและพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์มือถือสำหรับรองรับความ ต้องการของกลุ่มผู้ใช้งานวัยกลางคนในปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นผู้สูงวัยในอนาคต
King Mongkut's University of Technology North Bangkok. Central Library
Address: Bangkok
Email: library@kmutnb.ac.th
Role: Thesis advisor
Email : thippayac@kmutnb.ac.th
Created: 2013
Modified: 2015-07-21
Issued: 2015-07-20
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: E-THESIS
eng
DegreeName: Master of science
©copyrights King Mongkut's University of Technology North Bangkok
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 B15902092.pdf 8.08 MB83 2025-06-19 14:28:02
ใช้เวลา
0.03783 วินาที

Yangchen, Tshering
Title Contributor Type
Design guidelines for mobile phone applications for the middleaged adults
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Yangchen, Tshering
Thippaya Chintakovid
วิทยานิพนธ์/Thesis
Thippaya Chintakovid
Title Creator Type and Date Create
Measuring and selecting an effective user experience pattern for commercial web applications
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Thippaya Chintakovidh;Soradech Krootjohn
Tharis Thimthong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Influence of age group differences on usability of culturally accommodated websites
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Thippaya Chintakovid
Lumpapun Punchoojit
วิทยานิพนธ์/Thesis
Design guidelines for mobile phone applications for the middleaged adults
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Thippaya Chintakovid
Yangchen, Tshering
วิทยานิพนธ์/Thesis
Understanding work practices involving two communication technologies using activity-oriented design method a case study of Land Record Sector in Bhutan
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
;Thippaya Chintakovid
Kesang Choden
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 8
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,784
รวม 2,792 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 69,324 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 42 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 16 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 7 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 69,393 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48