แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ทางเลือกในการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยในชุมชนบางน้อยนอก อ. บางคนที จ.สมุทรสงคราม
Alternatives of house repairing choices in the Bangnoi-Nok community, Bang Khon Tee district, Samutsongkram province

ThaSH: ชุมชน -- ไทย -- สมุทรสงคราม
ThaSH: ที่อยู่อาศัย -- ไทย -- สมุทรสงคราม
ThaSH: ที่อยู่อาศัย -- การซ่อมแซม
Abstract: การศึกษาเรื่องทางเลือกในการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยในชุมชนบางน้อยนอก อ.บางคนที จ.สมุทรสงคราม นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพที่อยู่อาศัย และการใช้วัสดุในการก่อสร้างที่อยู่อาศัยในปัจจุบัน ศึกษาความสามารถในการจ่ายค่าซ่อมแซมของผู้อยู่อาศัย เพื่อวิเคราะห์หาทางเลือกในการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยที่สอดคล้องกับความสามารถในการจ่ายของผู้อยู่อาศัย โดยทำการศึกษาจาก ข้อมูลเอกสาร ภาพถ่าย การสำรวจและการสังเกต รูปแบบที่อยู่อาศัยและวัสดุก่อสร้าง การสัมภาษณ์ ผู้อยู่อาศัย ร้านค้าจำหน่ายวัสดุก่อสร้าง ช่างพื้นถิ่น โดยศึกษากรณีตัวอย่าง 5 รูปแบบ คือ เรือนแถวริมน้ำ เรือนไทยภาคกลาง เรือนประยุกต์ เรือนพื้นถิ่น อาคารสมัยใหม่ จำนวน 9 หลัง ที่ตั้งในพื้นที่ริมน้ำ 5 หลัง พื้นที่สวน 4 หลัง วิเคราะห์ทางเลือกในการซ่อมแซมโดยใช้วิธีเชิงสถิติ การประมาณราคา และการคำนวณหาความสอดคล้องกับความสามารถในการจ่ายของผู้อยู่อาศัย ผลการศึกษาพบว่า ที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่ใช้ไม้เป็นโครงสร้างหลักของอาคาร ที่อยู่อาศัยที่มีปัญหาต้องการซ่อมแซมมากที่สุดเรียงตามลำดับคือ ประเภทเรือนแถวริมน้ำ เรือนพื้นถิ่น เรือนไทยภาคกลาง ต้องการการซ่อมแซม 4 ส่วน คือ วัสดุมุง ผนัง พื้น และเสาอาคาร ปัญหาที่สำคัญที่สุด คือ ส่วนเสาอาคาร ซึ่งเป็นส่วนที่รับน้ำหนักทั้งหมดของโครงสร้างเพื่อถ่ายน้ำหนักลงสู่ชั้นดิน ซึ่งพบว่าลักษณะดินในพื้นที่ริมน้ำ ที่ระดับผิวดินถึงระดับ -13.00 เมตร จะเป็นดินโคลนสีดำที่ไม่มีความสามารถในการรับน้ำหนัก ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดปัญหาเสาอาคารทรุด ปัญหาเสาอาคารทรุดนี้ผู้อยู่อาศัยไม่สามารถซ่อมแซมเองได้ ดังนั้นช่างพื้นถิ่นจึงมีบทบาทสำคัญในการซ่อมแซมเสาอาคาร ให้กับชาวบ้านตามกระบวนวิธีพื้นบ้าน พบว่า มีการซ่อมแซม 3 วิธี คือ 1.การล้อมเสาส่วนที่ชำรุดด้วยแผ่นสังกะสีแล้วหยอดคอนกรีตลงไปตามช่อง 2. การแซมด้วยเสาคอนกรีตแต่ไม่ถอนเสาเดิมออก 3. การแซมด้วยเสาคอนกรีตแต่ถอนเสาเดิมออก การศึกษาด้านความสามารถในการจ่ายพบว่า ผู้อยู่อาศัยมีอาชีพที่หลากหลาย ส่วนใหญ่มีรายได้ครัวเรือนค่อนข้างน้อย มีรายได้มากกว่ารายจ่าย มียอดคงเหลือแต่ละเดือนและมีความสามารถในการจ่ายเพื่อที่อยู่อาศัยน้อยมาก จึงเลือกใช้วัสดุที่มาซ่อมแซมที่มีราคาถูกและหาง่ายในท้องถิ่นเท่านั้น วัสดุทางเลือกในการซ่อมแซม 4 ส่วนหลักของโครงสร้าง อาคารคือ (1) วัสดุมุงมี 2 ชนิด (2) ผนังมี 5 ชนิด (3) พื้นมี 3 ชนิด และ (4) ฐานรากมี 3 ชนิด รวมทั้งสิ้น 13 ชนิด มีทางเลือกในการซ่อมแซมในแต่ละรูปแบบอาคาร คือ (1) ซ่อมแซมครั้งเดียวพร้อมกันทุกส่วนมีทางเลือก 90 ทางเลือก (2) การแยกซ่อมแซมแต่ละส่วนของโครงสร้างมีทางเลือก 13 ทางเลือก และพบว่า ทางเลือกในการซ่อมแซมที่ผู้อยู่อาศัยส่วนมากมีความสามารถในการจ่ายได้ คือ การซ่อมแซมแบบแยกซ่อมแต่ละส่วนของโครงสร้าง และในการซ่อมแซมเสา วัสดุที่ผู้อยู่อาศัยส่วนใหญ่สามารถจ่ายได้มากที่สุด คือ เสาคอนกรีต แต่ที่จริงแล้ว ผู้อยู่อาศัยส่วนใหญ่ต้องการใช้ไม้มาทำการก่อสร้างที่อยู่อาศัยมากกว่า แต่เนื่องจากไม้มีราคาสูงทำให้ชาวบ้านไม่มีความสามารถในการจ่ายได้ อีกทั้งไม้ยังมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการก่อสร้างในพื้นที่ เนื่องจาก มีน้ำหนักเบา มีความยืดหยุ่นตัว และเป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นใหม่ได้ และไม้เป็นส่วนสำคัญที่จะทำให้องค์ความรู้ในการก่อสร้างบ้านเรือนด้วยช่างพื้นถิ่นให้สามารถคงอยู่ต่อไป ข้อเสนอแนะในการวิจัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ท้องถิ่น การเคหะแห่งชาติ ควรพิจารณาการช่วยเหลือผู้อยู่อาศัยที่มีความจำเป็นและมีรายได้น้อย ในการซ่อมแซมบ้านโดย 1. แนะนำวิธีการซ่อมแซมที่ถูกต้อง 2. สนับสนุนทางการเงินเท่าที่จำเป็น เช่น การให้กู้ยืมเพื่อซ่อมแซมที่อยู่อาศัย โดยควรใช้วัสดุและช่างท้องถิ่น เนื่องจากมีราคาถูกที่สุด ในระยะยาว 1. ควรมีการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำไม้มาใช้ในการก่อสร้างบ้านเรือน 2. ศึกษาหาวัสดุทดแทน เช่น การนำไม้จากต้นมะพร้าวที่ชาวบ้านปลูกในพื้นที่เป็นจำนวนมากมาก่อสร้างหรือซ่อมแซมบ้านเรือนแทนการซื้อไม้ที่มีราคาแพง และที่สำคัญเป็นวัสดุที่หาง่ายและสามารถผลิตได้เองในท้องถิ่น 2.ศึกษา สืบสาน อนุรักษ์ ความรู้จากภูมิปัญญาการก่อสร้างบ้าน โดยการสืบค้นช่างพื้นถิ่นที่มีอยู่ในพื้นที่และนำความรู้ เทคนิควิธีการก่อสร้างต่าง ๆ มาบันทึกสำหรับการเรียนรู้และควรมีหลักสูตรการก่อสร้างด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นตามสถาบันการศึกษาต่าง ๆ
Abstract: The main purposes of this research are to study the living conditions and construction materials of houses in the community and to study the residents’ ability to pay for the repairs so that alternatives for house repair can be proposed to suit the residents’ budget. This research is based on documents, photographs, a survey and observations, housing designs and construction materials, interviews with residents, sellers of construction materials and local house builders. Nine houses were taken as case studies and can be divided into five types: row-houses on the river bank, central Thai traditional houses, applied-style houses, localized houses and modern houses. Five of them are located on the river bank and four of them are located in an orchard. The analysis of alternatives for repair was carried out by using statistics, estimates and calculations in line with the residents’ affordability. It was found that most houses are built on a wooden structure and houses which require the most repairs were the houses on the river bank., followed by localized houses and central Thai traditional houses. There are four areas of repair: roofing, walls, floors and posts. The most serious problem is that the soil condition, from the surface to the depth of 13.00 meters near the river bank, is black clay that cannot support the house posts which carry the weight of the house. This causes the posts to sink, which is a problem the residents cannot deal with by themselves. As a result, local house builders play an important role in this repair. Their repairing methods are 1. Wrapping the sinking post with a zinc sheet and pouring concrete into the space between the post and the sheet, 2. Adding a concrete post to the sinking post and 3. Replacing the sinking post with a concrete post. As for the affordability, the residents, who have a variety of jobs, earn a low income. Most of them have more expenses than income. As a result, they have very little left monthly and can barely afford the repair. They choose cheap and easy-to-find materials to repair their houses. There are 13 alternative materials for repair: 2 for roofing, 5 for walls, 3 for floors and 3 for foundations. There are 2 ways to repair houses: 1) repair everything at the same time and 2) repair one section at a time. As for the first way, there are 90 options to choose from, while there are 13 options to choose from for the second way. Most residents prefer to repair one part at one time and prefer to use a concrete post to deal with the sinking post issue. In general, they would prefer to have an all-wood house, but the price of wood is high. They cannot afford it. Wood is the best choice because it is light, flexible and renewable, in addition to keeping the construction knowledge of local house builders alive. In terms of suggestions, related agencies such as local organizations and the Housing Authority of Thailand should help them to repair their houses by 1) give the appropriate advice on how to repair them, 2) providing necessary financial assistance such as loans for house repair on the condition that the materials and carpenters are available in the area to reduce the repair cost. As for a long-term plan, 1) there should be a feasibility study about using wood to build houses and about alternatives to the usual materials such as using wood from coconut tree which are largely grown in the area to replace wood from other trees which is more expensive and difficult to obtain. 2) Construction knowledge from local house builders should be researched and reported so that anyone can study it. There should also be a curriculum about building houses based on this indigenous knowledge taught in many educational institutions.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2551
Modified: 2558-02-11
Issued: 2558-02-11
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
Descipline: เคหการ
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 sompong_jh.pdf 15.58 MB39 2024-02-28 14:56:17
ใช้เวลา
0.025406 วินาที

สมปอง จึงสุทธิวงค์
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
Title Creator Type and Date Create
รูปแบบที่อยู่อาศัยและการอยู่อาศัยในชุมชนคลองบางน้อยนอก ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;ชวลิต นิตยะ
จาราภิวันท์ ทวีสิทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทางเลือกในการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยในชุมชนบางน้อยนอก อ. บางคนที จ.สมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;ชวลิต นิตยะ
สมปอง จึงสุทธิวงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการชุมชนแออัดประเภทเช่า กรณีชุมชนวัดช่องลม เขตยานนาวา / พงษ์ศักดิ์ บุญกล่อมจิตร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;ปรีดิ์ บุรณศิริ
พงษ์ศักดิ์ บุญกล่อมจิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการชุมชนแออัดประเภทบุกรุก กรณีชุมชนเชื้อเพลิงพัฒนา เขตยานนาวา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;ปรีดิ์ บุรณศิริ
สกนธ์ศุข มงคลสมัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการอยู่อาศัยชุมชนไทยเชื้อสายมอญบางกระดี่ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;อมรา พงศาพิชญ์
นพดล ฐิติพงษ์พานิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
ชวลิต นิตยะ
Title Creator Type and Date Create
การใช้พื้นที่อยู่อาศัยของชุมชนที่ถูกรื้อย้ายจากบ้านใต้สะพานในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุลฑลทิพย พานิชภักดิ์
ศุภชัย ถาวรสุภเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตหลังการรื้อถอนย้ายจากชุมชนใต้สะพาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
สินีนาฏ วงศ์สวัสดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ทางเลือกในการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์เพื่อการระดมทุนด้านเคหการของธนาคารอาคารสงเคราะห์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;สิริวัฒน์ พรหมบุรี
รัชนีวรรณ แพทย์ดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบที่อยู่อาศัยและการเงินเคหการระดับครัวเรือนของผู้อยู่อาศัย ในกำแพงนครเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;ปรีดิ์ บุรณศิริ
พิสิฐ สีหราช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาตัวแปรที่มีผลต่อราคาประเมินอาคารชุดพักอาศัย : กรณีศึกษา อาคารชุดพักอาศัยในเขตเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;แคล้ว ทองสม
ยุพิน คำนึงเนตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประเมินการก่อสร้างที่อยู่อาศัยด้วยบล็อกดินซีเมนต์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
สิงหราช มีทิพย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ลักษณะที่อยู่อาศัยของชาวเขาในโครงการพัฒนาดอยตุง อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย : กรณีศึกษาชาวเขาเผ่าอาข่า
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;สุภางค์ จันทวานิช
ลัดดาวัลย์ เพ่งชัด
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเปรียบเทียบตัวแปรที่เป็นความเสี่ยงต่อผลตอบแทนระหว่างโครงการบ้านสร้างเสร็จก่อนขายกับโครงการบ้านผ่อนดาวน์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กิตติ พัฒนพงศ์พิบูล
โสภา เจษฎาวรางกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดประโยชน์ที่ดินของวัดดอนเพื่อที่อยู่อาศัยของชุมชนแออัดวัดดอนพม่า
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทพย พานิชภักดิ์
ดุลย์วิทย์ ติกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การรื้อย้ายชุมชนเพื่อการก่อสร้างท่าอากาศยานสากลกรุงเทพ แห่งที่ 2 (หนองงูเห่า)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ปิยนุช หมัดนุรักษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการออกแบบที่อยู่อาศัยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนไบเล่ย์-หลังจวนฯ จังหวัดนครราชสีมา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
นพพันธุ์ ทองเกลี้ยง
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการร่วมกันสร้างที่อยู่อาศัยด้วยตนเอง กรณีศึกษาบ้านดิน บ้านเทพพนา อำเภอเทพสถิตย์ จังหวัดชัยภูมิ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วิทยา วัชรไตรรงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้พื้นที่ภายในห้องพัก ประเภทอาคารชุดราคาถูก : กรณีศึกษา โครงการสินธนาแมนชั่น (ถนนนวมินทร์), กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;สุปรีชา หิรัญโร
ชาญณรงค์ สุทธิลักษณ์สกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดราคาประเมินทุนทรัพย์ห้องชุดพักอาศัย : กรณีศึกษา อาคารชุดพักอาศัยในเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;แคล้ว ทองสม
อารี งามศิริอุดม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างชั้นของอาคารชุด กับราคาต่อตารางเมตร ของอาคารชุดพักอาศัย ในเขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;แคล้ว ทองสม
บุปผา เทวภักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ตัวแปรที่มีผลต่อการจำแนกกลุ่มอาคารชุดพักอาศัยในกรุงเทพมหานคร เพื่อการประเมินราคา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;แคล้ว ทองสม
เอื้องทิพย์ จงพัฒนะสินสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
เกณฑ์พิจารณาการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์อาคาร : การเปลี่ยนอาคารพักอาศัยเป็นอาคารสำนักงาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;ฐานิศวร์ เจริญพงศ์
กษิดิ สีมานนทปริญญา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความเป็นไปได้ในการจัดตั้งและดำเนินธุรกิจของบริษัทสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัยในไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กิตติ พัฒนพงศ์พิบูล;ชวลิต นิตยะ
มนัสวี วันทยะกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบการก่อสร้างบ้านเดี่ยว 2 ชั้น ด้วยชิ้นส่วนสำเร็จรูปเสา-คาน กับการก่อสร้างระบบเดิม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไตรรัตน์ จารุทัศน์;ชวลิต นิตยะ
นรินทร์ พุทธอารักษ์วงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยบนที่ดินราชพัสดุ : กรณีศึกษาชุมชนสามัคคีร่วมใจ บางเขน กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ธนะวัฒน์ รุโจประการ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบริหารจัดการงานก่อสร้างโครงการบ้านมั่นคง : กรณีศึกษา โครงการนำร่องในเขต กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไตรรัตน์ จารุทัศน์;ชวลิต นิตยะ
รุ่งโรจน์ ลิ่มทองแท่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
เทคโนโลยีการก่อสร้างอาคารพักอาศัยที่เหมาะสม สำหรับพื้นที่ปากแม่น้ำเจ้าพระยา : กรณีศึกษา หมู่บ้านสาขลา ต.นาเกลือ อ.พระสมุทรเจดีย์ จ.สมุทรปราการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
ทรงเกียรติ เที้ยธิทรัพย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาวัสดุประกอบอาคารจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์;ชวลิต นิตยะ
พลพัฒน์ นิลอุบล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทางเลือกในการซ่อมแซมและปรับปรุงที่อยู่อาศัยในชุมชนเขายี่สาร อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ชวลิต นิตยะ
มุกดาภรณ์ สุวรรณแพทย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบที่อยู่อาศัยและการอยู่อาศัยในชุมชนคลองบางน้อยนอก ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;ชวลิต นิตยะ
จาราภิวันท์ ทวีสิทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การออกแบบปรับปรุงอาคารเรียนชั่วคราวกึ่งสำเร็จรูปชั้นเดียว โครงสร้างเหล็กเบารับน้ำหนัก โครงการโรงเรียน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (SCG Southern School)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชลธี อิ่มอุดม;ชวลิต นิตยะ
กวิศ ปานม่วง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทางเลือกในการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยในชุมชนบางน้อยนอก อ. บางคนที จ.สมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;ชวลิต นิตยะ
สมปอง จึงสุทธิวงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบริหารจัดการการผลิตชิ้นส่วนก่อสร้างระบบอุตสาหกรรมในโรงงานชั่วคราวขนาดเล็กสำหรับโครงการบ้านจัดสรร : กรณีศึกษา โรงงานผลิตชิ้นส่วนสำเร็จรูป #1 ที่ ตำบลบางแม่นาง และ โรงงานผลิตชิ้นส่วนสำเร็จรูป #2 ที่ ตำบลไทรม้า,จังหวัด นนทบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
เทอดไทย เลิศประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การก่อสร้างโครงสร้างรับพื้นจากท่อกระดาษ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชลธี อิ่มอุดม;ชวลิต นิตยะ
วุฒิกร สุทธิอาภา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบรอยต่อระบบแห้งและระบบเปียกของระบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กสำเร็จรูปสำหรับบ้านพักอาศัยสองชั้น : กรณีศึกษาทาวน์เฮาส์โครงการกานดาบ้านริมคลอง 2 จังหวัดสมุทรสาคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;พรชัย เลาหชัย;ชวลิต นิตยะ
ปรวิทย์ หิมาตวิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบเพื่อปรับปรุงบ้านพักฉุกเฉินกรณีศึกษา โครงการบ้านต้นแบบ ต. น้ำก้อ จ.เพชรบูรณ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
สยามศักดิ์ จารุอาภรณ์ประทีป
วิทยานิพนธ์/Thesis
การก่อสร้างที่อยู่อาศัยของผู้ที่ย้ายจากชุมชนใต้สะพาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;ไตรรัตน์ จารุทัศน์
กรทิพย์ พฤกษ์ประเสริฐดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบที่พักอาศัยชั่วคราวสำหรับคนงานก่อสร้าง : กรณีศึกษา ที่พักอาศัยชั่วคราวของคนงานก่อสร้าง บริษัท เวสท์คอน จำกัด กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ ;สุปรีชา หิรัญโร
จักรกฤษณ์ ขันติวงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาและเปรียบเทียบเทคโนโลยีการก่อสร้างบ้านเดี่ยว 2 ชั้น ด้วยชิ้นส่วนสำเร็จรูประบบผนังรับน้ำหนัก : กรณีศึกษา โครงการหมู่บ้านภัสสรและโครงการหมู่บ้านซื่อตรง รังสิต-คลอง 3 จังหวัดปทุมธานี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
ภาณุรัตน์ โพธิ์งาม
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางในการพัฒนาสวัสดิการเงินกู้เคหสงเคราะห์พนักงานธนาคารออมสิน สำนักงานใหญ่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ ;กิตติ พัฒนพงศ์พิบูล
อรวรรณ อรุณแสง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำตู้คอนเทนเนอร์มาใช้เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษาโครงการทวีทรัพย์ อพาร์ทเมนต์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ไตรรัตน์ จารุทัศน์;ชวลิต นิตยะ
กฤษณุพนธ์ บุษปฤกษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาระบบการก่อสร้างอาคารพักอาศัยด้วยโครงสร้างไม้2x4นิ้วของออสเตรเลียเปรียบเทียบระบบการก่อสร้างทั่วไป
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
ชินพงศ์ ลาภจิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการปรับปรุง การดัดแปลง และต่อเติมตึกแถวระบบชิ้นส่วนกึ่งสำเร็จรูป : กรณีศึกษาสยามสแควร์ กรุงเทพฯ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;ปิยนุช เตาลานนท์
บดินทร์ ตั้งศิลปโอฬาร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบการประเมินราคาที่ดินรายแปลงสำหรับที่อยู่อาศัยโดยวิธีการใช้ค่าตัวคูณความลึกกับวิธีการทำด้วยมือ : กรณีศึกษา เทศบาลเมืองบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กิตติ พัฒนพงศ์พิบูล
วิลาวัลย์ วีระกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมในการรื้อย้ายชุมชนหลังมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตบางเขน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
กมล เอื้ออาภรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประเมินผลโครงการบ้านจัดสรรสวัสดิการข้าราชการบำนาญ ที่นครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พาณิชภักดิ์
สมมณี ประทุมไชย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทางเลือกในการฟื้นฟูที่อยู่อาศัย อาคารกรมภูธเรศน์ ถนนเยาวราช เขตสัมพันธวงศ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
พีระ ตรีชดารัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทางเลือกในการปรับปรุงอาคารซึ่งใช้แผงกันแดดคอนกรีตเสริมเหล็ก เป็นองค์ประกอบหลักในพื้นที่เขตการศึกษา ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชวลิต นิตยะ;ปิยนุช เตาลานนท์
ปิติรัตน์ ยศวัฒน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ลักษณะที่อยู่อาศัยของชาวเขา ในโครงการพัฒนาดอยตุง อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย : กรณีศึกษา ชาวเขาเผ่าลาหู่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;สุภางค์ จันทวานิช
ปรัชวิกร มาสมบูรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาและเปรียบเทียบการก่อสร้างบ้านพักอาศัย ด้วยชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูประบบเสา-คาน กับการก่อสร้างแบบทั่วไป : กรณีศึกษา หมู่บ้านคุณาลัย บางขุนเทียน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;ไตรรัตน์ จารุทัศน์
สุกฤต อนันตชัยยง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การอยู่อาศัยหลังจากการย้ายชุมชนผู้มีรายได้น้อย จากแนวราบสู่แนวสูง : กรณีศึกษา ชุมชนอาคารทรัพย์สิน 26-7 เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ชวลิต นิตยะ
จูลี่ โรจน์นครินทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
เทคนิคการก่อสร้างอาคารด้วยไม้ไผ่ การออกแบบและสร้างอาคารตัวอย่าง ณ พื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;ปิยนุช เตาลานนท์
ทรงเกียรติ เที้ยธิทรัพย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประเมินที่อยู่อาศัยก่อสร้างระบบกึ่งสำเร็จรูป โครงสร้างเสา-คานเหล็ก ผนังคอนกรีตมวลเบา : กรณีศึกษา บ้านมณีแก้ว จังหวัดชลบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;ไตรรัตน์ จารุทัศน์
โยธิน อึ่งกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการนำระบบเสา-คานสำเร็จรูปมาใช้ร่วมกับ การก่อสร้างระบบเดิมในโครงการบ้านจัดสรร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;บัณฑิต จุลาสัย
ธนพล สินธุยนต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบงานก่อสร้างบ้านแถวด้วยระบบประสานทางพิกัด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;ไตรรัตน์ จารุทัศน์
ชนินทร์ แซ่เตียว
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยชุมชนริมทางรถไฟจังหวัดนครราชสีมา : กรณีศึกษา การมีส่วนร่วมของชุมชนไบเล่ห์-หลังจวนผู้ว่าฯ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ณัฐพล อัศว์วิเศษศิวะกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยบนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;สันติ ฉันทวิลาสวงศ์
กนกพร วิวัฒนาการ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงชุมชนหลังการรื้อย้าย : ชุมชนหมู่บ้านพัฒนา 70 ไร่ คลองเตย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
กนกพร แสงแก้ว
วิทยานิพนธ์/Thesis
โครงการย้ายชุมชนเรือนแพริมแม่น้ำน่าน จังหวัดพิษณุโลก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;นพนันท์ ตาปนานนท์
วิรุฬห์ พันธุ์อุดม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์เงื่อนไขในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยโดยใช้ชิ้นส่วนเสา และคานคอนกรีตสำเร็จรูป และผนังไฟเบอร์ซีเมนต์กลวง : กรณีศึกษาโครงการพิมานชล 2 เฟส 3 จ. ขอนแก่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;ไตรรัตน์ จารุทัศน์
ดนุชา สุนทรารชุน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ที่อยู่อาศัยของบุคลากรในศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มานพ พงศทัต;ชวลิต นิตยะ
โสภิดา บุญเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการขยับบ้านหลังย้ายขึ้นจากคลองพิชัยของเคหะชุมชนเพชรคลองจั่น เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
วริศรา ตั้งจิตเจริญพงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
เงื่อนไขด้านเทคนิคในการก่อสร้างอาคารหอพักขนาด 3 ชั้นด้วยโครงสร้างเหล็กรูปพรรณ : กรณีศึกษา หอพักนักศึกษาโครงการยูเซ็นเตอร์ บริเวณถนนจุฬาลงกรณ์ ซอย 42 กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;ไตรรัตน์ จารุทัศน์
กฤติกา ประยูรหงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุในที่อยู่อาศัยแบบแฟลต เคหะชุมชนดินแดง 1 และ 2 กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;ไตรรัตน์ จารุทัศน์
จิระภา ศรีคำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาและเปรียบเทียบชิ้นส่วนสำเร็จรูปประเภทผนังรับน้ำหนัก กรณีศึกษา : ผู้ประกอบการซื้อสำเร็จจากโรงงานผลิต กับการผลิตในที่ก่อสร้าง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
นาวิน นาคะศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการออกแบบต่อเติมอาคารพักอาศัยของผู้มีรายได้ปานกลางของรัฐ กรณีศึกษาอาคารเดี่ยว 2 ชั้น โครงการประชานิเวศน์ 3 ส่วนที่ 3
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
วรวิทย์ อังสุหัสต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การต่อเติมบ้านเดี่ยวที่ก่อสร้างด้วยระบบผนังรับน้ำหนัก : กรณีศึกษาโครงการเพอร์เฟค พาร์ค จังหวัดนนทบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุปรีชา หิรัญโร;ชวลิต นิตยะ
ประวีณ สุวรรณภักดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการบ้านเอื้ออาทรตามความร่วมมือระหว่างกรมธนารักษ์กับการเคหะแห่งชาติ : กรณีศึกษาบ้านเอื้ออาทรสำหรับข้าราชการและลูกจ้างกองทัพเรือ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ชัยสิทธิ์ ทิพางค์กุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การติดตามผลการนำระบบการก่อสร้างสำเร์จรูปมาใช้ในโครงการบ้านจัดสรรประเภทบ้านเดี่ยว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุปรีชา หิรัญโร;ชวลิต นิตยะ
ศุภวิศท์ สุขวดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการก่อสร้างที่อยู่อาศัยโดยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูป : กรณีศึกษา โครงการชลลดา รัตนาธิเบศร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
บุษบง เจริญพันธ์โยธิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบกระบวนการก่อสร้างที่อยู่อาศัยโดยระบบสำเร็จรูป กับระบบปกติ : กรณีศึกษาโครงการซื่อตรงรังสิต คลอง 3 จังหวัดปทุมธานี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชวลิต นิตยะ
รุ่งรัตน์ ลิ่มทองแท่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การรื้อย้ายชุมชนแออัดคลองเตยระยะที่ 3 : กรณีศึกษาชุมชนวัชรพล รามอินทรา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
กรกช ปริศวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยเงินกู้เพื่อที่อยู่อาศัยที่มีต่อเงินงวดผ่อนชำระและระยะเวลาการกู้ยืม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชวลิต นิตยะ;กิตติ พัฒนพงศ์พิบูล
วุฒิพงศ์ พรพรหมประทาน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การกำหนดขนาดเริ่มต้นที่เล็กที่สุดของที่อยู่อาศัยโดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนศิริอำมาตย์ เขตพระนคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ราชัย บรรพพงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาที่พักคนงานในโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ : กรณีศีกษาโครงการทางด่วนสายบางปะอิน-ปากเกร็ด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
สมบัติ วนิชประภา
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการปรับปรุงที่อยู่อาศัยสำหรับคนพิการโรคเรื้อน สถานสงเคราะห์ และฟื้นฟูผู้ป่วยโรคเรื้อน โรงพยาบาลพระประแดง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
มงคล สัจจะสกุลวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาการของการต่อเติมที่อยู่อาศัยแบบสร้างบางส่วน : กรณีศึกษา ที่อยู่อาศัยแบบ A ในโครงการเมืองใหม่บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วรชาติ แก้วคำฟู
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความพึงพอใจต่อที่พักอาศัยประเภทเช่าของผู้ทำงานที่ศึกษาภาคสมทบ : กรณีศึกษาสถาบันราชภัฏจันทรเกษม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ
นภาพร มโนรุ่งเรืองรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 44
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,294
รวม 3,338 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 96,577 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 100 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 73 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 18 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 18 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 14 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 96,803 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180