แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Modellbeschreibung fur das Fach Deutschlandkunde in Thailand
รูปแบบเยอรมันศึกษาในประเทศไทย

LCSH: German language -- Study and teaching -- Thaiiland
LCSH: German Studies -- Thaiiland
Abstract: Die Magisterarbeit möchte den Deutschdozenten eine Modellbeschreibung für das Fach Deutschlandkunde an thailändischen Universitäten anbieten, da in Thailand eine einheitliche Konzeption für die deutschlandkundlichen Studien noch fehlt. Die Untersuchung wurden größtenteils an der Chulalongkorn Universität durchgeführt, weil sie mehr Erfahrung sowohl im Deutschunterricht als auch in Deutschlandkunde als die anderen Universitäten hat. Einige Beispiele stamen von der Universität Chiengmai, wo Deutsch auch als Hauptfach angeboten wird. Die Arbeit bestaht aus drei Hauptteilen. Im ersten Hauptteil wird eine einheitliche Konzeption für die landeskundlichen Studien erarbeitet, abgestimmt auf die besonderen Verhältnisse und Bedürfnisse Thailands. AuBer Wissenschaftlichen Fakten werden noch praktische Informationen von Studenten der Chulalongkorn Universität und derChienmai Universität aus Fragebogen ausgewertet. Zeitungenals Teil der Informationsquelle über Deutschland. Am SchulB des ersten Hauptteils wird dann eine einheitliche deutschlandkundliche Konzeption für thailändische Universitätennach Punkten erstellt. Der zweite Hauptteil behandelt die Analyse und Kritik der vorhandenen Lehrbücher in bezug auf ihre Verwendbarkeit für thailändische Studenten. Zunächst wird auf die zurückliegenden sieben Jahre eingegangen, dann folgt die Kritik der jetzt benutzten Lehrbücher mit einer Liste der wesentlichen Sachbücheran der Deutschen Abteilung der Philosophischen Fakultät. Die konkrte Modellbeschreibung für das Fach Deutschlandkunde anhand eines Stundenplanes und der Darstellung praktisch verwertbarer Mustertexte wird im dritten Hauptteil dargestellt.
Abstract: เนื่องจากการเรียนวิชา “เยอรมันศึกษา” ในประเทศไทยยังไม่มีการวางเป้าหมายและวิธีการสอนที่แน่นอน ข้าพเจ้าจึงใคร่เสนอรูปแบบ “เยอรมันศึกษา” ที่เหมาะสำหรับประเทศไทยแก่ครูและอาจารย์ผู้สอนวิชาภาษาเยอรมัน ข้อมูลส่วนใหญ่ของวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ได้จากการเรียนการสอนที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนื่องจากที่นี่มีประสบการณ์ทั้งในด้านการสอนภาษาเยอรมันและด้านการสอนวิชา “เยอรมันศึกษา” มากกว่ามหาวิทยาลัยอื่นๆ ในประเทศไทย ตัวอย่างและข้อมูลบางส่วนมาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ งานนี้ประกอบด้วย 3 บทใหญ่ ในบทแรกว่าด้วยการวิจัยหลักการเป้าหมายและความสำคัญของเยอรมันศึกษา โดยคำนึงถึงสถานภาพและความต้องการของนักศึกษาในประเทศไทยเป็นหลัก การวิจัยอาศัยข้อมูลทางวิชาการและข้อมูลจากแบบสอบถามโดยนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นอกจากนี้ยังมีสถิติข่าวเกี่ยวกับประเทศเยอะมันในรอบ 2 ปีที่แล้วมา จากหนังสือพิมพ์ไทยและอังกฤษ ตอนท้ายบทสรุปหลักการสำคัญของวิชา “เยอรมันศึกษา” สำหรับมหาวิทยาลัยในประเทศไทย ในบทที่ 2 เป็นการศึกษา วิเคราะห์และวิจารณ์เนื้อหาของเยอรมันศึกษาจากหนังสือเรียนและเอกสารต่างๆ เกี่ยวกับประเทศและวัฒนธรรมเยอรมัน โดยพิจารณาว่าเนื้อหาเรื่องใดและในรูปลักษณะเช่นไร จึงจะเหมาะสมกับการเรียน “เยอรมันศึกษา” ในเมืองไทยมากที่สุด ในบทสุดท้าย เป็นการสรุปรูปแบบของ Text เยอรมันศึกษาสำหรับนักศึกษาไทย พร้อมทั้งเสนอตัวอย่าง Text และวิธีการสอนควบคู่กันไป
Chulalongkorn University. Office of Academic Resources
Address: BANGKOK
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: advisor
Created: 1976
Modified: 2014-11-12
Issued: 2014-11-12
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
eng
DegreeName: Master of Arts
Descipline: German
©copyrights Chulalongkorn University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Pornsan_Tm_front.pdf 292.88 KB10 2018-06-03 06:22:52
2 Pornsan_Tm_intro.pdf 296.21 KB10 2018-06-03 06:22:53
3 Pornsan_Tm_ch1.pdf 757.78 KB11 2018-06-03 06:22:53
4 Pornsan_Tm_ch2.pdf 541.02 KB5 2018-06-03 06:22:54
5 Pornsan_Tm_ch3.pdf 724.43 KB5 2018-06-03 06:22:55
6 Pornsan_Tm_back.pdf 376.17 KB5 2018-06-03 06:22:56
ใช้เวลา
0.060624 วินาที

Pornsan Tmangraksat
Title Contributor Type
Modellbeschreibung fur das Fach Deutschlandkunde in Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Pornsan Tmangraksat
Gertrud Pflaum
วิทยานิพนธ์/Thesis
Gertrud Pflaum
Title Creator Type and Date Create
Modellbeschreibung fur das Fach Deutschlandkunde in Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Gertrud Pflaum
Pornsan Tmangraksat
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 26
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 1,793
รวม 1,819 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 66,367 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 74 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 30 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 9 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 5 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 66,488 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48