แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การจัดและการใช้ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ตามการรับรู้ของผู้จัดและผู้ใช้บริการ
Library organization and utilization of elementary school crusters under the jurisdiction of the office of Suphan Buri provincial primary education as perceived by organizers and users

ThaSH: ห้องสมุดโรงเรียน
ThaSH: กลุ่มโรงเรียนประถมศึกษา
ThaSH: การศึกษาขั้นประถม -- หลักสูตร
Abstract: วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการจัดห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ตามการรับรู้ของผู้บริหารโรงเรียนที่ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนตั้งอยู่และบรรณารักษ์ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียน 2. เพื่อศึกษาการใช้ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ตามการรับรู้ของครู นักเรียนในโรงเรียนที่ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนตั้งอยู่ และบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนภายในกลุ่ม การดำเนินการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม จำนวน 5 ชุด ตัวอย่างประชากรคือ ผู้บริหารโรงเรียน 57 คน ครู 241 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 342 คน ในโรงเรียนที่ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนตั้งอยู่และบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนภายในกลุ่ม จำนวน 99 คน ซึ่งสุ่มตัวอย่างแบบง่าย จากโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ผลการวิจัย ผู้บริหารโรงเรียนและบรรณารักษ์ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนใหญ่มีการรับรู้เรื่องการจัดห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนสรุปได้ดังนี้ 1. ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในโรงเรียนที่ทำการกลุ่ม เป็นห้องเอกเทศภายในอาคารเรียน มีขนาด 1 ห้องเรียน เป็นสถานที่ที่เหมาะสม 2. ครุภัณฑ์และวัสดุสิ่งพิมพ์ที่ได้รับจากสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดไม่เพียงพอและยังไม่มีการจัดซื้อเพิ่มเติม 3. มีการจัดวางหนังสือบนชั้นเปิด จัดหมวดหมู่หนังสือแบบทศนิยมของดิวอี้ กำลังจัดทำบัตรรายการ 4. มีบรรณารักษ์ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียน ซึ่งผู้บริหารโรงเรียนที่ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนตั้งอยู่เป็นผู้แต่งตั้ง มีนักเรียนช่วยงานห้องสมุด โดยบรรณารักษ์ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนเป็นผู้คัดเลือก 5. งบประมาณไม่เพียงพอ 6. ครู นักเรียน โรงเรียนภายในกลุ่มและประชาชนให้ความช่วยเหลือน้อยแก่ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียน 7. ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนจัดหนังสือใส่กระเป๋าสำหรับบริการโรงเรียนภายในกลุ่ม โดยให้โรงเรียนต่าง ๆมายืมไปใช้ในระยะเวลา 1-3 สัปดาห์ต่อกระเป๋า แล้วนำมาคืน และเก็บไว้ที่ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียน ครูและนักเรียนในโรงเรียนที่ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนตั้งอยู่กับบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนในกลุ่มโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนใหญ่มีการรับรู้เรื่องการใช้ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียน สรุปได้ดังนี้ 1. ครู และนักเรียนใช้ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนมากกว่าสัปดาห์ละครั้ง ครั้งละน้อยกว่า 1 ชั่วโมง 2. ครู ใช้ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนเพื่อค้นคว้าประกอบการสอน นักเรียนใช้ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนเพื่อ อ่านหนังสือเพิ่มเติมกลุ่มวิชาต่างๆ บรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนภายในกลุ่ม ใช้เพื่อยืมกระเป๋าหนังสือไปใช้ในห้องสมุดโรงเรียนของตนเอง 3. การใช้หนังสือของห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนนั้น ครู นักเรียน ทั้งในโรงเรียนที่ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนตั้งอยู่ และโรงเรียนภายในกลุ่ม จะใช้ในการเรียนการสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิตมากที่สุด โดยครูมอบหมายงานให้นักเรียนค้นคว้าเป็นกลุ่มและทำรายงาน 4. ครูใช้บริการห้องสมุด ใช้วัสดุสิ่งพิมพ์ และใช้กิจกรรมของห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนในระดับปานกลาง นักเรียน ใช้บริการ และใช้กิจกรรมของห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนในระดับปานกลางเช่นกัน แต่ใช้วัสดุสิ่งพิมพ์ในระดับมาก ส่วนบรรณารักษ์ห้องสมุดโรงเรียนภายในกลุ่มส่วนใหญ่ ไม่ได้ใช้บริการเหล่านั้นเลย
Abstract: Objectives 1. To study library organization of elementary school clusters under the jurisdiction of the Office of Suphan Buri Provincial Primary Education as perceived by administrators in schools where libraries of the school clusters were located and librarians of the school cluster libraries. 2. To study the utilization of libraries of elementary school clusters under the jurisdiction of the Office of Suphan Buri Provincial Primary Education as perceived by teachers and students in elementary schools where libraries of the school clusters were located and as perceived by librarians of elementary schools in the school clusters. Procedures Tools for this research were 5 questionnaires. The samples were 57 administrators, 241 teachers, 342 Prathom Suksa Six students in schools where school cluster libraries and 99 librarians of elementary schools in the school clusters which were selected by means of simple random sampling from elementary schools under the jurisdiction of the Office of Suphan Buri Provincial Primary Education. The data were analyzed by means of percentage. Findings The majority of school administrators and librarians of the school cluster libraries under the jurisdiction of the Office of Suphan Buri Provincial Primary Education perceived the library organization of elementary school cluster libraries as follows: 1. Most of the libraries of elementary school clusters were located in one school – room of the elementary school cluster headquarters and the location was appropriate. 2. The equipment and printed materials provided by the office of Provincial Primary Education were not sufficient and there were no additional purchase. 3. Books were placed on the open - shelves and Dewey system of classifying books was employed and cataloging was under way. 4. The librarians of the schools cluster libraries were nominated by the administrators of the elementary schools where the school cluster libraries were located. There were students selected by the librarians to assist in the library works. 5. There was insufficient budget. 6. The teachers, the students, the elementary schools in the school clusters and the public gave little assistance to the school cluster libraries. 7. The school cluster libraries arranged the compact book boxes and loaned them to the elementary schools in the school clusters for a period of 1-3 weeks per box. After that the box must be returned to the school cluster libraries. Most of the teachers and students in schools where the school cluster libraries were located and the librarians of the elementary school in the school clusters perceived the utilization of the school cluster libraries as follows: 1. The teachers and students used the school cluster libraries more than once a week and each time was less than one hour. 2. The teachers used the school cluster libraries for teaching purpose. The students used the school cluster libraries for additional reading in all subjects, the librarians of the schools in the school clusters used the school cluster libraries in borrowing the compact book boxes for use in their schools. 3. The utilization of books of the school cluster libraries by teachers and students both in the schools where the school cluster libraries were located and in other schools in the school clusters were mostly concentrated in the teaching and learning of life experiences in which the teachers assigned the students to work in groups and write reports. 4. The teachers utilized the library services printed materials and activities of the school cluster libraries at a moderate level. The students utilized the library services and activities at a moderate level but utilized the printed materials at a high level. The librarians of the schools in the school clusters utilized none of those services.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2529
Modified: 2557-10-22
Issued: 2557-10-22
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Paungpayom_Sa_front.pdf 381.27 KB9 2025-03-18 10:59:29
2 Paungpayom_Sa_ch1.pdf 338.17 KB5 2024-03-11 00:02:39
3 Paungpayom_Sa_ch2.pdf 678.94 KB5 2024-03-11 00:02:52
4 Paungpayom_Sa_ch3.pdf 311.93 KB5 2024-03-11 00:03:01
5 Paungpayom_Sa_ch4.pdf 1.61 MB4 2024-03-11 00:03:11
6 Paungpayom_Sa_ch5.pdf 731.43 KB4 2024-03-11 00:03:19
7 Paungpayom_Sa_back.pdf 784.79 KB5 2024-03-11 00:03:29
ใช้เวลา
0.02864 วินาที

นิรมล สวัสดิบุตร
Title Creator Type and Date Create
ความสัมพันธ์ระหว่างบริโภคนิสัยกับภาวะโภชนาการของเด็กก่อนวัยเรียน ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ เขตการศึกษา 11
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
นันทิยา เกิดวิชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่เรียนการสร้างภาพโดยการใช้และไม่ใช้รูปเรขาคณิตเป็นสื่อ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
พรมารินทร์ สุทธจิตตะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสาธิตระดับประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
จรินทร์ นาคศรีอาภรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาความรู้และเจตคติต่อศิลปศึกษาของครูสอนศิลปศึกษา ในโรงเรียนประถมศึกษาจังหวัดนครราชสีมา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
ไพโรจน์ รุจิระวิจักขณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดและการใช้ห้องสมุดกลุ่มโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี ตามการรับรู้ของผู้จัดและผู้ใช้บริการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
พวงพยอม สอิ้งทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาขั้นพัฒนาการทางการวาดภาพของนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
สมสมร ภู่ประกร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การปฏิบัติตามจรรยาบรรณของครูประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ ตามการรับรู้ของตนเอง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;นิรมล สวัสดิบุตร
พรศรี พานิชวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความต้องการของครูและผู้บริหารในการพัฒนาสมรรถภาพด้านการจัดบริการ และการจัดโครงการในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุมน อมรวิวัฒน์;นิรมล สวัสดิบุตร
สาหร่าย แตงนาวา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสอดคล้องระหว่างการเรียนการสอนงานเลือก ในกลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 และ 6 กับความคาดหวังของผู้ปกครองนักเรียน ในจังหวัดชลบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
สมลักษณ์ พิมสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาการของลูกเสือไทย ตั้งแต่พุทธศักราช 2454 ถึง 2528
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
ชัยวัฒน์ ปัญญา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนที่มีความก้าวหน้าด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดขอนแก่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
สำเนา เนื้อทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การให้คำภาษาไทยที่สะกดยากสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;นิรมล สวัสดิบุตร
จรูญรัตน์ กางกั้น
วิทยานิพนธ์/Thesis
คุณค่าของกิจกรรมศิลปศึกษาต่อนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา ตามการรับรู้ของครูศิลปศึกษา และผู้เชี่ยวชาญทางศิลปศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
ชูจิตต์ วัฒนารมย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำเสนอรูปแบบการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนประถมศึกษา สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดชุมพร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร;วัชรี ทรัพย์มี
ประพิณ จินตวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลจากการใช้กิจกรรมตามแผนการสอน กลุ่มการงานและพื้นฐานอาชีพ ตามการรับรู้ของครูชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;นิรมล สวัสดิบุตร
อนงค์ คำจันทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาการปฏิบัติงานของสมาคมผู้ปกครองและครู โรงเรียนประถมศึกษาในกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
ประดิษฐา จันทร์ไทย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์พัฒนาการของหลักสูตรการงานอาชีพในระดับประถมศึกษา ตั้งแต่ พ.ศ. 2435 ถึง พ.ศ. 2530
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
มณฑล เจริญฤทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
วิวัฒนาการของหลักสูตรและการสอนศิลปศึกษาระดับประถมศึกษา ในประเทศไทย พุทธศักราช 2435 ถึง 2526
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
บุษบา กาญจน์วารีทิพย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
อัตราผลตอบแทนในการลงทุนของโรงเรียนราษฎร์ในเขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร;อรพินธุ์ ชาติอัปสร
รัตนา ตั้งกิจจาวิสุทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างบทเรียนแบบโปรแกรมเรื่อง การบวกลบเศษส่วน สำหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นิรมล สวัสดิบุตร
ชูศรี สนิทประชากร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสำรวจการใช้หนังสือพิมพ์ในการสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของครูในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;นิรมล สวัสดิบุตร
วราภรณ์ ศานติธรรม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบความสามารถทางศิลปะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย แบบเข้มงวดกวดขันและแบบปล่อยปละละเลย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;นิรมล สวัสดิบุตร;อำไพ ตีรณสาร
อุทัยวรรณ บัวผัน
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 11
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,148
รวม 2,159 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 173,235 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 640 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 433 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 46 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 42 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 8 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 174,409 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48