แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ผลของการกระทำและความรับผิดในทางอาญา
Actions and consequence in criminal law

ThaSH: เจตนา
ThaSH: ความผิดทางอาญา
ThaSH: กฎหมายอาญา
Abstract: เมื่อมีการกระทำของบุคคลเกิดขึ้นอาจมีผลมากมายจนเหลือวิสัยจะนับได้และถ้าจะค้นคว้าสืบสาวหาผลทั้งหมดที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมต้องใช้ความเพียรและเวลาไม่มีที่สิ้นสุด กฎหมายประสงค์จะรักษาผลประโยชน์ของคนด้วยความระมัดระวังอย่างที่สุดผู้ที่ต้องเสียประโยชน์กฎหมายก็ให้สิทธิ ผู้ที่ทำให้เสียประโยชน์ก็บังคับให้มีหน้าที่ต่อผู้ที่ตนทำให้เสียประโยชน์ แต่เห็นได้ว่าไม่เป็นการยุติธรรมที่จะให้คนหนึ่งต้องรับผิดในผลทุกอย่างอันพึงเกิดขึ้นเนื่องจากการกระทำของตน จำต้องจำกัดผลแต่เท่าที่เห็นว่าเป็นการสมควรจะเอาผิดแก่ผู้กระทำได้ โดยเฉพาะเมื่อเป็นการกระทำความผิดอาญาซึ่งทำให้บุคคลต้องรับผิดในผลแห่งการกระทำนั้นด้วยแล้ว จึงจะต้องมีการค้นหาสาเหตุแห่งผลนั้น และจะต้องพิจารณาด้วยว่ามีความสัมพันธ์กันระหว่างการกระทำและผลนั้นหรือไม่ การบังคับโทษแก่บุคคลจะต้องเป็นการลงโทษเฉพาะบุคคลที่จะต้องรับผิดชอบในผลอันเนื่องมาจากกระทำของเขาเท่านั้น ผู้กระทำไม่ต้องรับผิดในผลที่เกิด โดยไม่มีความสัมพันธ์หรือห่างไกลจากการกระทำของเขา ทั้งนี้มีทฤษฏีที่สำคัญและนำมาใช้มากที่สุดในการวินิจฉัยคดี คือ 1. ทฤษฏีความเท่ากันแห่งเหตุหรือทฤษฏีเงื่อนไข มีหลักอยู่ว่า แม้ผลที่เกิดขึ้นจะเกิดจากเหตุหลายเหตุ ถ้าเหตุหนึ่งเกิดจากการกระทำของจำเลย จำเลยจะต้องรับผิดในผล คือ ความตาย บาดเจ็บ ความเสียหายที่เกิดขึ้นต่างๆ นั้น ไม่ว่าความเสียหายจะมีมากเพียงใด เพราะถ้าไม่มีการกระทำของจำเลย ผลเสียหายเช่นนั้นย่อมจะไม่เกิดขึ้น ทฤษฏีนี้มีข้อดีที่เป็นหลักตรงกับความจริงตามธรรมชาติ ซึ่งทำให้วินิจฉัยได้ง่ายว่าผลเสียหายเกิดขึ้นจากการกระทำของจำเลยหรือไม่ โดยพิจารณาแต่เพียงว่า ถ้าไม่มีการกระทำของจำเลยจะเกิดผลขึ้นเช่นนั้นหรือไม่ ถ้าตอบว่าไม่เกิดก็แสดงว่าผลเกิดจากการกระทำของจำเลย 2. ทฤษฏีมูลเหตุเหมาะสม มีหลักอยู่ว่า บรรดาเหตุทั้งหลายที่ก่อให้เกิดผลเสียหายนั้น ผู้กระทำจะต้องรับผิดเฉพาะเหตุที่ตามปกติย่อมก่อให้เกิดผลเช่นนั้นขึ้น ความเสียหายนอกเหนือจากนั้น แม้จะเป็นผลโดยตรงจากการกระทำของจำเลยจำเลยไม่ต้องรับผิด ทฤษฏีนี้เทียบได้กับมาตรา 63 แห่งประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งบัญญัติว่า “ถ้าผลของการกระทำความผิดใดทำให้ผู้กระทำต้องรับโทษหนักขึ้น ผลของการกระทำความผิดนั้นต้องเป็นผลที่ตามธรรมดาย่อมเกิดขึ้นได้” การใช้ทฤษฏีร่วมกัน ทฤษฏีทั้งสองทฤษฏีดังกล่าวข้างต้นต่างมีทั้งข้อดีและข้อเสีย กล่าวคือ ทฤษฏีความเท่ากันแห่งเหตุประโยชน์แก่ผู้เสียหายมากกว่าทฤษฏีมูลเหตุเหมาะสม แต่ก็อาจทำให้จำเลยต้องรับผิดมากเกินไปโดยไม่มีขอบเขตจำกัดดังนั้น จึงมีการนำหลักจากสองทฤษฏีมาใช้ร่วมกัน โดยนำทฤษฏีความเท่ากันแห่งเหตุหรือทฤษฏีเงื่อนไขมาใช้ในตอนต้นแล้วนำทฤษฏีมูลเหตุเหมาะสมมาใช้ในตอนปลายกล่าวคือ จะดูผลที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องๆ ว่าผลต่างๆ ที่เกิดขึ้นนั้นเกิดขึ้นเพราะเหตุแรกเหตุเดียวหรือมีเหตุอื่นแทรกซ้อนเข้าไปด้วย ถ้าปรากฏว่ามีเหตุอื่นแทรกซ้อนจนกระทั่งเหตุแรกหมดความสำคัญลง เช่นนี้ถือว่า ผลที่เกิดขึ้นต่อๆ ไปนั้น ผู้ก่อเหตุแรกไม่ต้องรับผิดชอบ คงรับผิดเพียงเฉพาะเหตุที่ตนเป็นผู้ก่อขึ้นเท่านั้น โดยถือว่าความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำกับผลของการกระทำ หรือความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผลขาดตอนลง หลักที่ใช้ในศาลไทย พอสรุปได้จากแนววินิจฉัยของศาลฎีกาได้ว่า ความตายหรือความเสียหายต้องเป็นผลโดยตรงของการกระทำ ต้องไม่ไกลกว่าเหตุ ที่ว่าเป็นผลโดยตรงของการกระทำ หมายถึง หลักตามทฤษฏีความเท่ากันแห่งเหตุหรือทฤษฏีเงื่อนไขส่วนที่ว่าไม่ไกลกว่าเหตุ หมายความว่า ไม่มีเหตุแทรกซ้อนหรือเหตุแทรกแซงอื่นมาทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผลขาดตอนลง ทฤษฏีเหมาะสมและทฤษฏีเงื่อนไขนี้ เป็นทฤษฏีที่มีการนำมาใช้มากที่สุดในการวินิจฉัยคดี ตามหลักในกฎหมายอาญาแล้วมีมาตราที่เกี่ยวข้อง คือ มาตรา 63 ซึ่งเทียบได้กับเรื่องของทฤษฏีมูลเหตุเหมาะสมว่า การกระทำของผู้กระทำเป็นผลธรรมดาที่เกิดจากการกระทำหรือไม่ต้องแยกมองเป็น 2 นัย กล่าวคือ 1. ในแง่อัตวิสัย (subjective) คือ การดูว่าผู้กระทำสามารถอาจเห็นผลได้หรือไม่ หากไม่สามารถจะเล็งเห็นได้ก็ไม่ใช่ผลธรรมดา แต่การคิดเช่นนี้อาจกลายเป็นการกระทำโดยเจตนาได้ เพราะเป็นการกระทำโดยรู้ข้อเท็จจริงว่าจะเกิดผลอย่างใดขึ้น และเมื่อผู้กระทำรู้ถึงข้อบกพร่องของผู้ตายแล้วยังขืนทำลงบุคคลโดยทั่วๆ ไป ก็ย่อมเห็นได้ว่าเป็นผลธรรมดาที่เกิดได้จากการกระทำแก่บุคคลที่อยู่ในสภาพเช่นนั้น 2. ในแง่ภาวะวิสัย (objective) กล่าวคือ ผู้กระทำอาจมองไม่เห็นว่าการกระทำของตนจะส่งผลเช่นใด แต่ผู้กระทำควรจะทราบได้ การวินิจฉัยเช่นนี้ต้องอาศัยความนึกคิดของบุคคลที่มีความรู้และความจัดเจนแห่งชีวิตปานกลาง ที่เรียกว่าวิญญูชนเป็นหลักว่า นอกจากพฤติกรรมที่ผู้กระทำได้รู้จริงๆ แล้ว ยังควรรู้ถึงพฤติการณ์อันใดอีกบ้าง และพฤติการณ์ที่ควรรู้เช่นนั้นผลที่เป็นปกติควรเป็นอย่างที่เกิดขึ้นหรือไม่การเห็นผลดังกล่าวนี้จึงตรงกับหลักในมาตรา 63 หมายถึง เป็นการพิจารณาในแง่ของการกระทำว่า การกระทำนั้นๆ ได้ก่อให้เกิดผลเช่นนั้นมาหลายครั้งแล้ว จนกระทั่งผู้กระทำเองหรือบุคคลโดยทั่วๆ ไปที่วิญญูชนค่อนข้างแน่ใจได้ว่า ถ้ามีการกระทำเช่นนั้นอีกก็จะมีผลอย่างนั้นเกิดขึ้นอีก อันเป็นการคาดเห็นได้ ตามความรู้โดยปกติของบุคคลทั่วๆ ไป เหตุที่ผู้กระทำกระทำลงจะเหมาะสมกับผลที่เกิดขึ้นหรือไม่ ตามทฤษฎีเหตุที่เหมาะสม กล่าวคือ ถ้าวิญญูชนหรือบุคคลทั่วๆ ไป สามารถคาดเห็นได้จึงสมควรลงโทษผู้กระทำในผลที่เขาก่อขึ้นนั้นเอง ฉะนั้น ปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผลเป็นเรื่องมีรายละเอียดแนวความคิด เนื้อหาสาระมาก จึงไม่ใช้เรื่องที่จะให้กระทำได้โดยการบัญญัติเป็นกฎหมายให้กะทัดรัดตามลักษณะของประมวลกฎหมาย และเป็นเรื่องที่หาข้อยุติแน่นอนไม่ได้ขึ้นอยู่กับข้อเท็จจริงเป็นเรื่องๆ ไป สิ่งที่นับว่าสำคัญที่สุดสำหรับผู้ศึกษาค้นคว้ากฎหมาย ผู้ใช้กฎหมายจะกระทำเพื่อให้เป็นมาตรการทางกฎหมายในการกำหนดขอบเขตความรับผิดทางอาญาได้ ก็คือการนำแนวความคิดทฤษฎีต่างๆ มาใช้ให้เหมาะสมกับเรื่อง และกำหนดตัวผู้ที่ต้องรับผิดชอบในผลเสียหายที่เกิดขึ้นให้ได้ทฤษฎีเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างการกระทำและผล จึงมีขึ้นเพื่อพิจารณาผลของการกระทำให้เกิดความสมดุลในความรับผิดชอบของบุคคล กับความเสียหายที่เกิดขึ้นไม่ให้กว้างหรือแคบเกินไป จนผู้กระทำหลุดพ้นความรับผิดไปหมด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สำนักงานวิทยทรัพยากร
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2528
Modified: 2558-01-03
Issued: 2557-10-14
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
ISBN: 9745646423
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Pranee_Se_front.pdf 471.1 KB79 2024-12-25 19:22:46
2 Pranee_Se_ch1.pdf 311.79 KB61 2024-12-25 19:23:40
3 Pranee_Se_ch2.pdf 1.11 MB74 2024-12-25 19:24:03
4 Pranee_Se_ch3.pdf 1.36 MB63 2024-12-25 19:24:22
5 Pranee_Se_ch4.pdf 1.39 MB73 2024-12-25 19:24:47
6 Pranee_Se_ch5.pdf 885.52 KB59 2024-12-25 19:25:05
7 Pranee_Se_ch6.pdf 679.48 KB53 2024-12-25 19:25:26
8 Pranee_Se_back.pdf 274.42 KB40 2024-12-25 19:25:45
ใช้เวลา
0.026862 วินาที

ปรานี เสฐจินตนิน
Title Contributor Type
ผลของการกระทำและความรับผิดในทางอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรานี เสฐจินตนิน
วีระพงษ์ บุญโญภาส
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
วีระพงษ์ บุญโญภาส
Title Creator Type and Date Create
การต่อรองคำรับสารภาพ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส ;เข็มชัย ชุติวงศ์
นิจรินทร์ องค์พิสุทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการกระทำและความรับผิดในทางอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส ;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ปรานี เสฐจินตนิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรับผิดของรัฐต่อพยานในการให้ความคุ้มครองตามมาตรการพิเศษ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส ;พงศกร จันทรศัพท์
นงศิรนารถ เดิมกาญจนดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การกระทำความผิดโดยบันดาลโทสะที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกับการกระทำโดยเบื้องต้นและการกระทำโดยไตร่ตรองไว้ก่อน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส ;จิรนิติ หะวานนท์
พิณทิพย์ ลีลาเกรียงศักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฎหมายในการแสวงหาพยานหลักฐานและการค้นหาความจริง ในคดีฟอกเงิน
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์; วีระพงษ์ บุญโญภาส
นงศิรนารถ กุศลวงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
Title Creator Type and Date Create
กฎหมายเกี่ยวกับโทรเวชกรรม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;วิฑูรย์ อึ้งประพันธ์
อดิเรก หลิมศิริวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของพยานผู้เชี่ยวชาญในคดีข่มขืนกระทำชำเรา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
นุชนภางค์ ศิริอัสสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การปฏิบัติต่อสัญญาในคดีล้มละลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเรียง เมฆเกรียงไกร; มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ภาสวรรณ ณ นคร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสำคัญผิดในปัญหาข้อกฎหมาย : ศึกษากรณีความผิดทางเศรษฐกิจ
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มุรธา วัฒนะชีวะกุล
สามารถ ชัยขรรค์เมือง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ข้อสันฐานในคดีอาญา อันเป็นโทษแก่จำเลย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จรัญ ภักดีธนากุล
จตุรงค์ ฉินวิวัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การลบล้างคำพิพากษาลงโทษจำคุก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
วาสนา รอดเอี่ยม
วิทยานิพนธ์/Thesis
หลักการรับฟังคำรับสารภาพของผู้ต้องหา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;เข็มชัย ชุติวงศ์
ก่อเกียรติ เอี่ยมบุตรลบ
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการกลั่นกรองมูลคดีอาญาก่อนการพิจารณาของศาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
รจิต แสงสุก
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการกระทำและความรับผิดในทางอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส ;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ปรานี เสฐจินตนิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาการคุ้มครองพยานบุคคลในคดีอาญา : ศึกษากรณีการเป็นพยานในคดียาเสพติด
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ผู้ช่วยศาสตรจารย์ มุรธา วัฒนะชีวะกุล
อนันต์ แย้มเกษร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบัญญัติให้การกระทำขั้นตระเตรียมต้องรับโทษทางอาญา : กรณีศึกษาคอลเซ็นเตอร์
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ธิชัยยุทธ์ สุคนธมัติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ศึกษากรณีการกำหนดโทษปรับ
มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์มุรธา วัฒนะชีวะกุล
อานนท์ ชั้นบุญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฎหมายเพื่อคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถยนต์ที่ใช้ในการขนส่ง : ศึกษาเฉพาะกรณีความรับผิดของผู้ประกอบการขนส่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จรัญ ภักดีธนากุล
กนกวรรณ ศรีจินไตย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลผูกพันของคำพิพากษาในคดีแพ่ง : กรณีศึกษาประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา 145
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;พรเพชร วิชิตชลชัย
กิตติพงษ์ จิตสว่างโศภิต
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการก่อนการพิจารณาคดี : ศึกษาปัญหาเปรียบเทียบ กรณีการนำกระบวนการของระบบกฎหมายคอมมอนลอว์มาปรับใช้
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;พรเพชร วิชิตชลชัย
วัลภา ละอองสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การฝึกอบรมเพื่อประกอบวิชาชีพทนายความในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
วีระศักดิ์ ทองสุทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการก่อนการพิจารณาคดี : ผลต่อการพิจารณา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
เลอภพอักขรา พรชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การดำเนินคดีแบบกลุ่มในระบบกฎหมายคอมมอนลอว์และซิวิลลอว์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล ;วรรณชัย บุญบำรุง
รชฎ บุญสินสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของศาลในการพิจารณาแผนฟื้นฟูกิจการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล ;ไกรสร บารมีอวยชัย
อรุโณทัย เต็มธนานันท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตรวจสอบพยานหลักฐานโดยศาลก่อนการพิจารณาคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จิรนิติ หะวานนท์
ศุภชัย เกียรติเฉลิมพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
เหตุอื่นที่ไม่สมควรให้ลูกหนี้ล้มละลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;สุธีร์ ศุภนิตย์
พจน์ คมน์อนันต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กฎหมายต้นแบบของ UNCITRAL เกี่ยวกับการล้มละลายข้ามชาติ : ศึกษากรณีการยอมรับถึงผลของคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลต่างประเทศ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;วิศิษฎ์ วิศิษฎ์สรอรรถ
มนุเชษฐ์ โรจนศิริบุตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
พยานหลักฐานเชิงวิทยาศาสตร์ในความผิดฐานฆ่าผู้อื่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;พรทิพย์ โรจนสุนันท์
ธนพร วุฒิกรวิภาค
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสืบพยานบุคคลในคดีอาญาโดยใช้สื่อภาพและเสียงเชิงปฏิสัมพันธ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จิรนิติ หะวานนท์
พนิดา เศวตสุนทร
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของศาลในการพักการลงโทษ : กรณีศึกษาเปรียบเทียบไทยกับสหรัฐอเมริกา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
เนติพันธ์ บุญมา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ขอบเขตของข้อเท็จจริงที่ศาลรู้เอง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;พรเพชร วิชิตชลชัย
อิสรา วรรณสวาท
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของศาลเยาวชนและครอบครัวในการคุ้มครองเด็ก จากการทารุณกรรม โดยบุคคลในครอบครัว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จิรนิติ หะวานนท์
ปริญญา ฐิติมนตรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายในการบริหาร และการจัดการโรงเรียนอนุบาลเอกชน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;ศรีราชา เจริญพานิช
ชูศักดิ์ ชื่นชมชาติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ข้อสันนิษฐานในกฎหมายล้มละลาย : ศึกษากรณีความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชลอ ว่องวัฒนาภิกุล ;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
นพปฎล เมืองรักษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสอบสวนและพิจารณาคดีมารยาททนายความ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;วิษณุ เครืองาม
ก่อศักดิ์ เจนสมุทรสินธุ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของพนักงานสอบสวนในของกลางคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วีระพงษ์ บุญโญภาส;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ธรรมชัย แสงเสย์โย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลกระทบทางกฏหมายจากการเสนอข่าวคดีอาญา ต่อการบริหารงานยุติธรรมทางอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
วรวิทย์ ฤทธิทิศ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การดำเนินกระบวนพิจารณาคดีแพ่งเพราะเหตุขาดนัด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กนก อินทรัมพรรย์;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
อุเทน ศิริสมรรถการ
วิทยานิพนธ์/Thesis
เขตอำนาจศาลในคดีเกี่ยวกับแรงงาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เกษมสันต์ วิลาวรรณ;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
วรพงศ์ มนตรีกุล ณ อยุธยา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จรัญ ภักดีธนากุล
วรพงศ์ จักรเสน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การร้องขอให้ปล่อยจากการคุมขังโดยผิดกฎหมาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เริงธรรม ลัดพลี;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
เชวง ชูศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพิสูจน์ในคดีละเมิดโดยประมาทเลินเล่อ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ประสิทธิ์ จงวิชิต
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้ดุลพินิจในการดำเนินคดีอาญาของอัยการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณิต ณ นคร;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ชนิญญา ชัยสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ขอบเขตอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบของเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;ชลอ ว่องวัฒนาภิกุล
ชูชาติ ศิรินิล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพผู้ต้องหาโดยองค์การตุลาการในชั้นก่อน การพิจารณา : ศึกษาเปรียบเทียบกรณีไทยและสหรัฐอเมริกา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
สุพิศ ปราณีตพลกรัง
วิทยานิพนธ์/Thesis
สิทธิในทรัพย์สินของบุคคลกับอำนาจยึดและริบทรัพย์ตามกฎหมายศุลกากร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;สถิตย์ ลิ่มพงศ์พันธุ์
เพ็ญแข พรหมจินดา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายอั้งยี่ : ซ่องโจรในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์
สุรจิต พัฒนสาร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ละเมิดอำนาจศาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;พรเพชร วิชิตชลชัย;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
วินัย ตูวิเชียร
วิทยานิพนธ์/Thesis
องค์ประกอบและอำนาจองค์คณะพิพากษาในศาลแรงงาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ลาวัลย์ หอนพรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การดำเนินคดีในศาลยุติธรรมซึ่งเป็นศาลทหาร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เริงธรรม ลัดพลี;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
อุดม สิทธิวิรัชธรรม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคุ้มครองของประชาชนต่อการถูกจับและตรวจค้นที่ไม่ชอบธรรม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;เกียรติขจร วัจนะสวัสดิ์;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
จงรัก จุฑานนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
สิทธิของจำเลยที่จะได้รับการพิจารณาคดีโดยรวดเร็ว
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;สุประดิษฐ์ หุตะสิงห์
บุศรา เกิดวิชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การแสวงหาพยานหลักฐานจากร่างกายผู้ต้องหา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;เข็มชัย ชุติวงศ์
ดาราวรรณ ใจคำป้อ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวคิดทางกฎหมายในการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ ศึกษาร่างพระราชบัญญัติล้มละลาย (ฉบับที่) พศ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
วราภรณ์ อาษาพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพักบังคับชำระหนี้ในการฟื้นฟูกิจการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;วิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
ศศิอนงค์ จงกลนี
วิทยานิพนธ์/Thesis
สิทธิของเจ้าหนี้มีประกันในการฟื้นฟูกิจการลูกหนี้
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;ไกรสร บารมีอวยชัย
หทัยรัตน์ ถาวรพานิชกิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
อำนาจศาลในการสืบพยานกรณีขาดนัดในคดีแพ่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จิรนิติ หะวานนท์
สันติสุข ทิพย์สุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบอกปัดสัญญาที่มีภาระในการฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;วิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
อุรสา รัตนสมบัติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
อำนาจหน้าที่และความรับผิดของผู้ทำแผนฟื้นฟูกิจการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;สุรศักดิ์ วาจาสิทธิ์
ปกรณ์ คุณสาระ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคุ้มครองความปลอดภัยของพยานบุคคลในคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ประยุทธ แก้วภักดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการฟื้นฟูลูกหนี้ที่มีกิจการขนาดเล็กภายใต้กฎหมายล้มละลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;ไกรสร บารมีอวยชัย
ชัยณรงค์ เหลืองวิลัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การล้มละลายโดยสมัครใจของบุคคลธรรมดา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สำเรียง เมฆเกรียงไกร;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
พงศ์เทพ หาญนาคะเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำสืบประวัติและการกระทำในอดีตของจำเลยในคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;จิรนิติ หะวานนท์
วัฒนา เอี่ยมอธิคม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ข้อจำกัดการค้นหาข้อเท็จจริงของทนายจำเลยในคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ไมตรี วงศ์ขจรศิลป์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การระงับข้อขัดแย้งทางธุรกิจโดยวิธีอื่นนอกจากการดำเนินคดีทางศาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
วารีรัตน์ รัตนวิบูลย์สม
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฎหมายต่อรถยนต์บรรทุกน้ำหนักเกินอัตรา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
สหพรรษ จินานุรักษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเพิกถอนการฉ้อฉลในคดีล้มละลาย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;วิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
สิรินธรา สุทธิถวิล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การลงโทษจำคุกโดยวิธีกำหนดช่วงโทษ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล;อมราวดี อังค์สุวรรณ
เชฏฐพันธุ์ อุชุปาละนันท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบังคับคดีจากสังหาริมทรัพย์มีรูปร่างของลูกหนี้ตามคำพิพากษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
ไพฑูรย์ เรืองเดชขจร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ภาระการพิสูจน์ในมูลหนี้สัญญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
สมนึก ชัยเดชสุริยะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการก่อนการพิจารณาคดีแพ่ง : ผลต่อการระงับข้อพิพาททางธุรกิจโดยคู่ความ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ไพฑูรย์ คงสมบูรณ์;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
จาตุรันต์ จันทะนะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
บรรทัดฐานของศาลฎีกาในเรื่องการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานในคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;พรเพชร วิชิตชลชัย
สุนทร เกิดโภคา
วิทยานิพนธ์/Thesis
คำซัดทอดของผู้มีส่วนร่วมในการกระทำความผิดคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
คัคนางค์ สาครมณีรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การตระเตรียมการในความผิดฐานฆ่าผู้อื่น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;วีระพงษ์ บุญโญภาส;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
วินัย ตรีราภี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การนำลายพิมพ์ ดี เอ็น เอ มาใช้เป็นพยานในคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล
รุ่งระวี โสขุมา
วิทยานิพนธ์/Thesis
มาตรการทางกฎหมายอาญาในการควบคุมการขายตรง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;วาทิน คำทรงศรี
สุทธิกรณ์ ลิบน้อย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรับผิดทางอาญาของคู่สัญญาเช่าซื้อ : ศึกษาเฉพาะกรณีผู้ให้เช่าซื้อเอาทรัพย์ที่ให้เช่าซื้อไป
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มุรธา วัฒนะชีวะกุล;กมลชัย รัตนสกาววงศ์
พรทิพย์ ถนอมรอด
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความผิดฐานขัดขืนหมายหรือคำสั่งของศาล : กรณีศึกษาพยานบุคคลในคดีอาญา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
เอกวัตร จินตนาดิลก
วิทยานิพนธ์/Thesis
การป้องกันและคุ้มครองเด็กต่อการกระทำความผิดฐานข่มขืน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มุรธา วัฒนะชีวะกุล
สาธิต ใช้สถิตย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 13
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,139
รวม 2,152 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 172,755 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 640 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 433 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 46 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 42 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 8 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 173,929 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48