แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Internationalization of Thai silk
การทำให้เป็นนานาชาติของผ้าไหมไทย

LCSH: Silk, Thai
Abstract: The present study aims to investigate the internationalization of Thai silk in terms of its international market and factors that make it internationalized. Some part of the data used in the analysis was taken from governmental documents. The other part was collected from five hundred foreign customers of Thai silk by using questionnaires and five Thai silk shop owners dealing with the industry and business of Thai silk by interviewing. Descriptive statistics was used to determine how much Thai silk has been internationalized and how much it is accepted by foreigners. The result of the analysis reveals that over the past six decades, more than thirty countries around the world have imported Thai silk for use in fashion and home decoration. Thai silk export has generated an income over 40,000 million baht for the country. It is found that there are four main factors that make Thai silk developed to the international level. They are: (1) support from important organizations divided into two kinds; internal support divided into public and private organizations, which play an important role in prompting Thai silk industry, and external support which helps ensure the growth Thai silk industry; (2) the effect of world political and economic situation, which affects the export of Thai silk by changing the purchasing power of the world customers; (3) the great variety of designs of Thai silk, which are composed of both traditional and modern patterns; (4) the adaptation of Thai silk to suit foreigners’ taste and preferences. Thai silk has adapted both its designs and functions; i.e., its designs have been more westernized and its function has been expanded from being used for clothing to being used for home furnishing
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ มีจุดมุ่งหมายที่จะ ศึกษาผ้าไหมไทย ว่ามีความเป็นนานาชาติเพียงใด และอะไรเป็น ปัจจัย ที่ทำให้ผ้าไหมไทยพัฒนาไปสู่ระดับนานาชาติ ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์มาจากเอกสารทางราชการและ จากกลุ่มตัวอย่างของชาวต่างชาติที่ซื้อผลิตภัณฑ์ ผ้าไหมไทย ในบริเวณสีลม สาทร สยาม และห้างสรรพสินค้าต่างๆ จำนวน ๕๐๐ คน และ กลุ่มผู้ผลิตผ้าไหมไทย ๕ แห่ง ในประเทศไทย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับผ้าไหมไทยในแง่การยอมรับในระดับ นานาชาติ ลวดลายและคุณภาพของผ้าไหมไทย และการสัมภาษณ์เกี่ยวกับการส่งออกในระดับนานาชาติ และปัจจัย ที่ช่วยผลักดันให้ผ้าไหมไทยก้าวออกไปสู่ตลาดโลก การวิเคราะห์เชิงคุณภาพใช้การตีความ ส่วนการวิเคราะห์เชิง ปริมาณมีการใช้สถิติประกอบด้วย เช่น ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ประเทศไทยส่งออกผ้าไหมไทยสู่ตลาดนานาชาติมากกว่า ๑๐๐ ประเทศทั่วโลก ใน รูปแบบเสื้อผ้าที่มีลวดลายทันสมัย และ ผลิตภัณฑ์ตกแต่งภายในบ้าน ซึ่งทำรายได้ให้แก่ประเทศไทยเป็นมูลค่า มากกว่า ๔๐,๐๐๐ ล้านบาทต่อปี นอกจากนี้ ยังพบว่ามีปัจจัยที่สำคัญที่เป็นตัวผลักดันให้ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทย พัฒนาไปสู่ระดับนานาชาติ ๔ ประการคือ (๑) องค์กรที่สำคัญจากในประเทศและนอกประเทศ ซึ่งช่วยเหลือทั้ง ทางด้านการเงิน และการให้ความรู้ ทำให้ผ้าไหมไทยพัฒนาไปในระดับนานาชาติ (๒) ผลกระทบจากเศรษฐกิจทั่ว โลกต่อผ้าไหมไทย ทำให้เกิดการเพิ่มหรือลดกำลังการใช้จ่ายของผู้ซื้อทั่วโลก (๓) ผ้าไหมไทยมีลวดลายที่ หลากหลาย ขึ้นอยู่กับจินตนาการ และ วัฒนธรรมของผู้ทอผ้า และความหลากหลายของท้องถิ่น (๔) ผ้าไหมไทย ปรับเปลื่ยนลายผ้าให้เข้ากับรสนิยมของชาวต่างชาติ ชาวต่างชาติที่ซื้อผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทยชื่นชอบลายผ้าไหมไทย ที่มีลวดลายแบบประยุกต์ มีสีเรียบ และทันสมัย แต่ยังคงความเป็นลวดลายไทย นอกจากนั้น ผ้าไหมไทยยังปรับ หน้าที่ให้ใช้ในแวดวงอื่นๆ เช่นการตกแต่งภายใน เป็นต้น ผลงานวิจัยครั้งนี้มีประโยชน์ต่อกลุ่มคนที่อยู่ในอุตสาหกรรมผ้าไหมและผู้ผลิตรายอื่นที่จะนำสินค้าไปสู่ ระดับนานาชาติ อีกทั้งยังทำให้เข้าใจเกี่ยวกับเอกลักษณ์ความเป็นไทยของผ้าไหมไทย
Chulalongkorn University. Office of Academic Resources
Address: BANGKOK
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: advisor
Created: 2009
Modified: 2014-02-12
Issued: 2014-02-12
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
eng
DegreeName: Master of Arts
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 varinya_pu.pdf 2.09 MB147 2024-10-20 20:20:50
ใช้เวลา
0.015617 วินาที

Varinya Puranitee
Title Contributor Type
Internationalization of Thai silk
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Varinya Puranitee
Amara Prasithrathsint
วิทยานิพนธ์/Thesis
Amara Prasithrathsint
Title Creator Type and Date Create
Features of contemporary Thai narrative texts and their relation to Thai cultural characteristics
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Schalbruch, Martin
วิทยานิพนธ์/Thesis
Pictures of Thailand as reflected in Haiku written by Japanese in Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint;Saowalak Suriyawongpaisal
Yashiko Yamamoto
วิทยานิพนธ์/Thesis
Thai and Vietnamese university students' language learning strategies
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Attapol Khamkhien
วิทยานิพนธ์/Thesis
The syntax and lexicon of thai pidgin english in phuket
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Nicha Tovankasame
วิทยานิพนธ์/Thesis
Internationalization of Thai silk
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Varinya Puranitee
วิทยานิพนธ์/Thesis
Mandarin speakers’ difficulties with spatial prepositions in English and their conceptualization of spatial relations
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Amara Prasithrathsint
Chang Chuan-Chi
วิทยานิพนธ์/Thesis
Discourse on the Khmers in contemporary Thai fiction
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Amara Prasithrathsint
Narongdej Phanthaphoommee
วิทยานิพนธ์/Thesis
ON- GOING CHANGE OF THE PERSONAL PRONOUN SYSTEM IN TAI LUE SPOKEN IN THAILAND, THE LAO PEOPLE'S DEMOCRATIC REPUBLIC AND THE PEOPLE'S REPUBLIC OF CHINA
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint;Thom Huebner
Kittinata Rhekhalilit
วิทยานิพนธ์/Thesis
THE SYSTEM AND PROMOTION OF TEACHING AND LEARNING GERMAN IN THAILAND AND MALAYSIA
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Yap Lian Chee
วิทยานิพนธ์/Thesis
THE EXPANSION OF JAPANESE RESTAURANT INDUSTRY IN BANGKOK
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Mizue Miyamoto
วิทยานิพนธ์/Thesis
HANBAN CONFUCIUS CLASSROOMS AND THE LEARNING OF CHINESE LANGUAGE AND CULTURE IN THAI SCHOOLS
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Jiaqi Song
วิทยานิพนธ์/Thesis
HANUMAN IN SAK YANT : THE SIGNIFICANCE AND INFLUENCE OF HANUMAN IMAGERY IN NORTHERN THAI CULTURE
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Alex Ethan Martin
วิทยานิพนธ์/Thesis
Khmer-thai people\'s attitudes and motivations in studing standard khmer in changwat surin
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint;Carina Chotirawe
Kunthy Seng
วิทยานิพนธ์/Thesis
Spelling errors in Thai made by Chinese and Lao students speaking Thai as a foreign language
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Peng Hou
วิทยานิพนธ์/Thesis
The awareness of mandarin and the maintenance of Yunnan dialect of Chinese among Chinese Thais in Lat Krabang, Bangkok
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Xiaoshan Du
วิทยานิพนธ์/Thesis
Secret language of the Thai blind
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Weerachai Umpornpaiboon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Relationship between the social variation of (r) in Thai and (r) in English in the speech of Bangkok Thai Speakers
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint;Sudaporn Luksaneeyanawin
Boonruang Chunsuvimol
วิทยานิพนธ์/Thesis
The promotion of French language and culture by alliance Française in Bangkok, Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Shu-chin Huang
วิทยานิพนธ์/Thesis
Bribes and Merits: Exchange Mechanisms in Thai society
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Enrico Bargnani
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 9
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,185
รวม 3,194 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 205,260 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 675 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 535 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 49 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 43 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 24 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 4 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 4 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 206,595 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48