แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Effect of imagery intervention on stress level in ballroom dancing competition
ผลของการฝึกจินตภาพต่อระดับความเครียดในการแข่งขันลีลาศ

LCSH: Dance -- Competitions
LCSH: Imagery (Psychology)
LCSH: Stress (Psychology)
Abstract: To examine effect of imagery intervention on stress level in ballroom dancing competition. Subjects consisted of 48 competitive ballroom dancers (24 male, 24 female) who participated in 38th National dance sport championships (Trung Games). Subjects were randomized into two groups: intervention group (imagery training with self-video modeling of high level athletes competition for 6 weeks, 3 times/week) and control group. Subjects’ saliva was collected for cortisol and alpha-amylase analysis. Data was statistically analyzed at the 0.05 level of significance. The significant decrease of baseline value of salivary cortisol was only observed in trained-subjects whereas baseline value of salivary alpha-amylase trended to be lower in trained-subjects. However, there was no significant difference of cortisol and alpha-amylase level between groups on competition day. Self-report of CSAI-2R questionnaire demonstrated that somatic anxiety, cognitive anxiety and self-confidence of intervention group were significantly improved when compared to control group on post-test day. On competition day, the cognitive anxiety in trained-subjects was lower than the cognitive anxiety in untrained-subjects significantly. Moreover, the results showed significant dance performance improvement of all subscales after six weeks training in intervention group. In addition, four out of five subscales of sport imagery usage were also improved. In conclusion, six-week imagery training benefit ballroom dance athletes by decreasing stress level and state anxiety, and increasing self-confidence, dance performance and imagery use. The intensity, duration and detail of imagery intervention might have to be developed for competitive effects.
Abstract: ศึกษาผลของการฝึกจินตภาพต่อระดับความเครียดในการแข่งขันลีลาศ โดยผู้เข้าร่วมวิจัยเป็นนักกีฬาลีลาศระดับตัวแทนจังหวัด ที่เข้าร่วมการแข่งขันลีลาศกีฬาแห่งชาติ (ตรังเกมส์) ครั้งที่ 38 จำนวน 48 คน โดยแบ่งผู้เข้าร่วมวิจัยเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1)กลุ่มที่ได้รับการฝึกจินตภาพร่วมกับวิดีโอโมเดลลิ่ง 3 ครั้ง/สัปดาห์ เป็นเวลา 6 สัปดาห์ และ(2)กลุ่มควบคุม ทั้งสองกลุ่มจะได้รับเทปบันทึกการแข่งขันของนักกีฬาลีลาศที่มีความสามารถสูง และกำหนดให้ชมเทปดังกล่าว 3 ครั้ง/สัปดาห์ การตรวจวัดระดับความเครียด ทำโดยการเก็บตัวอย่างน้ำลายจากนักกีฬา เพื่อวิเคราะห์หาค่า cortisol และ alpha-amylase นักกีฬาทุกคนจะได้รับการประเมินความสามารถในการแข่งขันลีลาศ การจินตภาพ และความวิตกกังวลตามสถานการณ์ ข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ผลทางสถิติ โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ <0.05 นักกีฬาในกลุ่มที่ได้รับการฝึกจินตภาพมีค่า baseline value of cortisol ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ ส่วนค่า baseline value of alpha-amylase มีแนวโน้มที่ลดลง แต่ไม่พบความแตกต่างทางสถิติ อีกทั้งค่า cortisol และ alpha-amylase ในวันแข่งขันของนักกีฬาที่ได้รับการฝึกจินตภาพ มีแนวโน้มน้อยกว่า นักกีฬาที่ไม่ได้รับการฝึก แต่ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ การประเมินความวิตกกังวลตามสถานการณ์ด้วย CSAI-2R questionnaire พบว่านักกีฬาในกลุ่มที่ได้รับการฝึกมีระดับความวิตกกังวลทางกายและจิตใจลดลง และมีความมั่นใจในตนเองเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับการฝึก ในวันทดสอบหลังการฝึก ส่วนในวันแข่งขัน พบว่านักกีฬาในกลุ่มที่ได้รับการฝึกมีความวิตกกังวลทางจิตใจน้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการฝึกอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้นักกีฬาในกลุ่มที่ได้รับการฝึก มีการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันลีลาศ และมีการใช้จินตภาพเพิ่มมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญจากการศึกษาครั้งนี้ สามารถสรุปได้ว่า การฝึกจินตภาพเป็นเวลา 6 สัปดาห์ ให้ผลดีแก่นักกีฬาลีลาศ โดยจะช่วยลดความเครียด และความวิตกกังวล เพิ่มความมั่นใจ ความสามารถในการแข่งขันลีลาศ และการใช้จินตภาพ ทั้งนี้แบบฝึกจินตภาพดังกล่าวยังต้องมีการพัฒนาในด้านของความหนัก ระยะเวลา และรายละเอียดสำหรับการฝึก ให้มีผลในช่วงระยะเวลาของการแข่งขันด้วย
Chulalongkorn University. Office of Academic Resources
Address: BANGKOK
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: advisor
Created: 2009
Modified: 2014-02-06
Issued: 2014-02-06
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
eng
DegreeName: Master of Science
Descipline: Sports Medicine
©copyrights Chulalongkorn University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 sasima_pa.pdf 3.39 MB89 2024-10-27 16:23:49
ใช้เวลา
0.020704 วินาที

Sasima Pakulanon
Title Contributor Type
Effect of imagery intervention on stress level in ballroom dancing competition
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Sasima Pakulanon
Wilai Anomasiri
วิทยานิพนธ์/Thesis
Wilai Anomasiri
Title Creator Type and Date Create
Effect of recruitment training on immune system
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Wilai Anomasiri;Anan Srikiatkhachorn
Praparat Chuntavan
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effects of creatine supplementation on body composition and anaerobic performance in Thai national wheelchair racing athletes
มหาวิทยาลัยบูรพา
Pratoom Moungmee;Wilai Anomasiri;Sompol Sanguanrungsirikul
Jakapong Khaothin
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effect of imagery intervention on stress level in ballroom dancing competition
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Wilai Anomasiri
Sasima Pakulanon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effect of intense aerobic exercise on forearm blood flow and postprandial lipemia in normotensive offspring of hypertensive parents
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Onanong Kulaputana;Wilai Anomasiri
Chonnikan Ariyakul
วิทยานิพนธ์/Thesis
Molecular cloning of a serine beta-fibrinogenase homolog, a novel gene from russell’s viper venom (daboia russellii siamensis)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Issarang Nuchprayoon;Wilai Anomasiri
Umaporn Methmaolee
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effect of kinesio tape and rigid tape on electromyographic and shoulder kinematic during overhead activities in athletes
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Pongsak Yuktanandana;Wilai Anomasiri
Witcha Lertwipatrakul
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effect of acute moderate exercise on low density lipoprotein diene conjugation in sedentary Thais
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Monchai Chalaprawat;Wilai Anomasiri
Siriluck Otakal
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effect of condition training in Thai soccer players on glutathione antioxidant
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Wilai Anomasiri
Sureeporn Satityanuruk
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effects of cryotherapy and petrissage massage on functional signs of delayed onset of muscle soreness of knee extensors following stimulated plyometric exercise in Thai male
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Sompol Sanguanrungsirikul;Wilai Anomasiri
Pornpimol Muanjai
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effects of cardiac rehabilitation on fibrinolysis in patients with coronary artery disease
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Wilai Anomasiri;Dootchai Chaiwanichsiri
Paweena Thongthawee
วิทยานิพนธ์/Thesis
Vitamin d supplementation and physical performance in knee osteoarthritis patients
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Sittisak Honsawek;Wilai Anomasiri;Pongsak Yuktanandana
Pacharee Manoy
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 6
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,033
รวม 3,039 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 67,066 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 40 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 14 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 6 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 67,129 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48