แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Research report a study of perceptual learning style preferences of Thai EFL university students of science and technology disciplines
การศึกษารูปแบบในการเรียนรู้ของนักศึกษาไทยระดับอุมศึกษาสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีซึ่งเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ

Organization : King Mongkut's University of Technology North Bangkok
keyword: งานวิจัยคณะศิลปศาสตร์ประยุกต์.
LCSH: ENGLISH LANGUAGE -- STUDY AND TEACHING
LCSH: STUDY SKILL
LCSH: LEARNING BEHAVIOR
LCSH: INSTRUCTIONAL SYSTEMS -- DESIGN
Noted: Grant Source King Mongkut
Abstract: In the contemporary practices in the tertiary education, students’ learning styles have at times been overlooked and teachers are likely to be unaware of their own teaching styles and a match between teaching and learning style preferences. As a result, students may not gain a deep understanding of the lessons due to the instructional methods, which may not correspond to their learning style preferences. This study, therefore, aims to identify the learning style preferences of Thai EFL university students of science and technology disciplines and to investigate the differences in their learning styles. It further examines the relationships between leaning styles and some other target variables—discipline, gender, age, length of time studying English and pre-existing English proficiency. It also looks at the fluctuations in learning style preferences within a specific course. Whether there is a match between students’ learning styles and teachers’ teaching styles is another attempt of this study to explore. Data were collected through Reid’s (1987) questionnaire (PLSPQ) and a written response form, using 237 students and five teachers of English of an EFL reading course in the first term of the academic years 2011 and 2012 at King Mongkut’s University of Technology North Bangkok (KMUTNB). The results indicate that Thai EFL learners of science and technology disciplines have identifiable learning styles that differ among students. They favour Group learning style the most and Individual learning style the least. Not all of the factors studied in this research are found to contribute to the choice of learning styles; only the age and English learning experience are. Preferences for learning styles actually fluctuate within the course of this subject. Thai teachers of English are found to be Visual learners/teachers and Group learning is their least favourite style. Interestingly, a mismatch between student learning styles and teacher teaching styles is found. Both the students and the teachers unanimously agree on further views on learning and teaching styles, and the teachers generally agree on Reid's (1987, 1995) major and minor hypotheses. A balanced style of teaching in order to accommodate diverse learning styles in the classroom is highly recommended. The study takes the first step towards learner autonomy or developing the ability to take charge of learners' own learning for lifelong learning.
Abstract: การเรียนการสอนระดับอุดมศึกษาในปัจจุบันนั้น รูปแบบในการเรียนรู้ของผู้เรียนมักไม่ไดhรับความสนใจ แต่กลับถูกมองว่าเป็นปัจจัยที่ไม่สำคัญในกระบวนการเรียนรู้ ครูผู้สอนอาจจะไม่ได้ตระหนักถึงรูปแบบในการเรียนรู้ของตนเองและความไม่สอดคล้องกันระหว่างรูปแบบในการเรียนรู้ของผู้สอนเองกับของผู้เรียน หลายครั้งที่ผู้เรียนอาจไม่เข้าใจบทเรียนอย่างลึกซึ้ง ทั้งนี้เป็นเพราะวิธีการสอนของครูผู้สอนซึ่งไม่สอดคล้องกับรูปแบบในการเรียนรู้ที่ผู้เรียนถนัดหรือชื่นชอบ ทั้งนี้เท่าที่ผ่านมาวิธีการเรียนของผู้เรียนและวิธีการสอนของผู้สอนมักได้รับความสนใจน้อยในหลายๆ สถานการณ์ ดังนั้นการศึกษานี้จึงมีจุดมุ่งหมายที่จะค้นหารูปแบบในการเรียนรู้ของนักศึกษาไทยระดับอุดมศึกษาสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ศึกษาภาษาอังกฤษเป็น ภาษาต่างประเทศ และสำรวจความสัมพันธ์ของรูปแบบในการเรียนรู้เหล่านั้นตามตัวแปรด้าน สาขาวิชาของผู้เรียน เพศ อายุ ประสบการณ์ในการเรียนภาษาอังกฤษ และสมิทธิภาพทางภาษาอังกฤษของผู้เรียนนอกจากนี้งานวิจัยนี้ยังพิจารณาว่ามีการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบในการเรียนรู้ของผู้เรียนในช่วงระยะเวลาเรียนรายวิชาหนึ่งๆ หรือไม่ พร้อมกับศึกษาความสอดคล้องกันระหว่างรูปแบบในการเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามรูปแบบในการเรียนรู้ ซึ่งพัฒนาโดยศาสตราจารย์ จอย เอ็ม รีด และแบบตอบคำถามปลายเปิดในลักษณะอภิปรายซึ่งผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นเอง พลวิจัยประกอบด้วยนักศึกษาจำนวน 237 คน และอาจารย์ผู้สอนจำนวน 5 คน ในรายวิชาการอ่าน 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ป9 การศึกษา 2554 และ 2555 ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาสายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความชื่นชอบรูปแบบ ในการเรียนรู้ที่หลากหลาย โดยที่นักศึกษาส่วนใหญ่ชื่นชอบการเรียนรู้แบบการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มมากที่สุด และชื่นชอบการเรียนรู้ด้วยตนเองน้องที่สุด นอกจากนั้นยังพบว่าปัจจัยทางด้านอายุ และประสบการณ์ในการเรียนภาษาอังกฤษมีผลต่อการเลือกรูปแบบในการเรียนรู้และรูปแบบในการเรียนรู้นั้นมีการเปลี่ยนแปลงตลอดระยะเวลาของรายวิชา ที่สำคัญพบว่ามีความไม่สอดคล้องกันระหว่างรูปแบบในการเรียนของผู้เรียนและรูปแบบในการสอนของผู้สอนซึ่งอาจจะมีผลต่อความสำเร็จในการเรียนของผู้เรียนได้ ดังนั้นผู้สอนจึงควรใช้รูปแบบการสอนในลักษณะผสมผสานเพื่อเอื้อต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียนในชั้นเรียน โดยเลือกงานหรือกิจกรรมการเรียนที่ผู้เรียนสามารถใช้รูปแบบการเรียนรู้ที่ตนถนัด หาก เป็นดังนี้ก็จะเป็นการช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ที่แท้จริงและการเรียนรู้ด้วยตนเอง อันจะนำไปสู่การเรียนรู้
King Mongkut University of Technology North Bangkok. Central Library
Address: Bangkok
Email: library@kmutnb.ac.th
Role: funding agency
Created: 2556
Modified: 2013-09-12
Issued: 2013-09-12
งานวิจัย/Research report
application/pdf
CallNumber: E-RESEARCH
eng
©copyrights King Mongkut's University of Technology North Bangkok
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 B15714949.pdf 610.5 KB114 2025-06-29 12:29:01
ใช้เวลา
0.016166 วินาที

Songyut Akkakoson
Title Contributor Type
Portfolio analysis : an alternative approach to clarifying students' use of EFL reading strategies
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Songyut Akkakoson.

บทความ/Article
Research report a study of perceptual learning style preferences of Thai EFL university students of science and technology disciplines
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Songyut Akkakoson

งานวิจัย/Research report
A documentary review of theoretical and practical elements for the development of English speaking skills among Thai university students
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Songyut Akkakoson.

บทความ/Article
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 13
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,981
รวม 2,994 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 62,027 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 64 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 16 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 8 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 4 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 62,121 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48