แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การวางใจเป็นกลางตามหลักอุเบกขาในพระพุทธศาสนาเถรวาท
The Neutral Mind According to Equanimity (Upekkhã) in Theravãda Buddhism.

keyword: อุเบกขา
Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์ ๓ ประการ คือ เพื่อศึกษาหลักคำสอนเรื่องอุเบกขาในพระพุทธศาสนาเถรวาท เพื่อศึกษาวิธีการวางใจเป็นกลางตามหลักอุเบกขาในพระพุทธศาสนาเถรวาท เพื่อเสนอแนวทางการประยุกต์ใช้วิธีวางใจเป็นกลางตามหลักอุเบกขาในพระพุทธศาสนาเถรวาท จากการศึกษา อุเบกขา แปลว่า การเข้าไปเพ่งพิจารณา การเฝ้ามองดูอยู่ใกล้ๆ หมายถึงความวางใจเป็นกลางมั่นคงไม่เอนเอียงด้วยความชอบหรือความชัง ความวางใจเฉยได้ไม่ยินดียินร้าย เมื่อใช้ปัญญาพิจารณาเห็นว่าสัตว์ทั้งหลายมีความเสมอกันโดยกรรม และเป็นไปตามอำนาจของกรรม โดยสมควรแก่เหตุและรู้ว่าพึงปฏิบัติต่อไปตามธรรม หรือ ความรู้จักวางใจเฉยดู เมื่อเห็นบุคคลนั้นรับผิดชอบตนเองได้ หรือ เมื่อบุคคลนั้นควรต้องได้รับผลอันสมควรแก่ความรับผิดชอบของเขาเอง เป็นความวางทีเฉยคอยดูอยู่ในเมื่อบุคคลนั้นๆ ดำเนินไปตามควรของเขา ไม่มีอคติเข้าไปก้าวก่ายแทรกแซง รู้จักวางเฉยสงบใจมองดู ในเมื่อไม่มีกิจที่ควรทำ วิธีการวางใจเป็นกลางตามหลักอุเบกขา ต้องมีสติอยู่ในปัจจุบัน มีความเพียรไม่ประมาท ในขณะคิด ขณะพูด และขณะทำ มีอินทรีย์สังวรสำรวมระวัง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มีสติปิดกั้นไม่ให้จิตหลงไปในอารมณ์ต่างๆ ในเวลาตาเห็นรูป หูได้ยินเสียง จมูกดมกลิ่น ลิ้นลิ้มรส กายถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ โดยมีสติปัญญาคอยกำกับเมื่อมีการรับรู้อารมณ์ อันจะทำให้มีการรับรู้อารมณ์เป็นไปอย่างบริสุทธิ์ การวางใจเป็นกลางตามหลักอุเบกขาเป็นหลักปฏิบัติที่สำคัญในการดำรงชีวิต เป็นคุณธรรมที่เกื้อหนุนกรรมดีทั้งหลายให้บริบูรณ์ เป็นหลักปฏิบัติในการเจริญกัมมัฏฐาน เป็นพื้นฐานในการบรรลุธรรมขั้นสูงสุด แนวทางการประยุกต์ใช้วิธีวางใจเป็นกลางตามหลักอุเบกขา อุเบกขาเป็นตัวกลางไม่ก้าวก่ายแทรกแซงกฎแห่งธรรม ทั้งกฎธรรมชาติและกฎหมาย กติกา ระเบียบแบบแผน รักษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรม คือรักษาฐานของสังคมไว้ จิตที่เป็นอุเบกขาประกอบด้วยปัญญา เพราะอยู่กับธรรมอยู่กับความจริงเป็นจิตประเสริฐ ที่เข้าถึงความจริง สงบ เรียบ อยู่กับความรู้ความนิ่งเฉยด้วยความรู้ คือ อุเบกขาที่สัมพันธ์คนกับงาน จึงต้องพิจารณาตามหน้าที่การงาน ตำแหน่งการงาน ที่รับมอบหมายให้ตรงไม่เอนเอียง สามารถป้องกันปัญหาการประพฤติทุจริตได้ถูกทาง การวางใจเป็นกลางตามหลักอุเบกขาที่แท้จริง จึงเป็นไปเพื่อรักษาหลักธรรมหรือกฎเกณฑ์ธรรมชาติ และรักษากฎหมาย กติกา ระเบียบแบบแผนต่างๆ ที่มนุษย์บัญญัติไว้ พร้อมทั้งรักษาบุคคลและสังคมให้มีความเข้มแข็งรับผิดชอบในตัวบุคคลไว้ได้ ทั้งดำรงรักษาความเป็นธรรมในสังคม และดำรงรักษาสังคมให้มีสันติสุขตั้งแต่สังคมเล็กในครอบครัวไปจนถึงสังคมสากลของมนุษยชาติ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. สำนักหอสมุดและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: library@mcu.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Created: 2554
Modified: 2555-08-04
Issued: 2555-08-04
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 1572554.pdf 2.09 MB81 2022-02-10 15:50:07
ใช้เวลา
0.022473 วินาที

พระอภิชาติ ฐิตเมโธ (ชมดี)
Title Contributor Type
การวางใจเป็นกลางตามหลักอุเบกขาในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระอภิชาติ ฐิตเมโธ (ชมดี)
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร.
ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร.
Title Creator Type and Date Create
การวางใจเป็นกลางตามหลักอุเบกขาในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร. ;ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
พระอภิชาติ ฐิตเมโธ (ชมดี)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
Title Creator Type and Date Create
วิธีคิดเพื่อบรรเทาอกุศลจิตในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร;ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
พระมหานุกูล มหาวีโร (พรหมขันธ์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวางใจเป็นกลางตามหลักอุเบกขาในพระพุทธศาสนาเถรวาท
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร. ;ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
พระอภิชาติ ฐิตเมโธ (ชมดี)
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการส่งเสริมการศึกษาด้านศาสนศึกษาของพระธรรมโมลี (ทองอยู่ าณวิสุทฺโธ)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูศรีสุนทรสรกิจ ป.ธ.๖, พธ.บ., M.A., Ph.D. (Linguistic);พระครูวินัยธรสมุทร ถาวรธมฺโม พธ.บ., พธ.ม., Ph.D. (Philosophy);ผศ.ทวีศักดิ์ ทองทิพย์ พธ.บ., ศศ.ม. (สันสกฤต)
พระครูพิทักษ์สังฆกิจ (โกสุม ติกฺขวีโร)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาผลสัมฤทธิ์การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมในการแก้ปัญหาการดื่มสุรา : ศึกษาเฉพาะกรณีวัดที่เข้าร่วมโครงการปลอดสุรา อำเภอศรีณรงค์ จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูปริยัติวิสุทธิคุณ ป.ธ. ๔ M.A., Ph.D;พระครูศรีสุนทรสรกิจ ป.ธ. ๖ M.A.Ph.D;ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทวีศักดิ์ ทองทิพย์ พม.พธ.บ.(ศาสนา) ศศ.ม.(ภาษาสันสกฤต)
พระครูโสภณสุทธิธรรม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาการให้ทานของคนชุมชนบ้านคูบัว ตำบลหินเหล็กไฟ อำเภอคูเมือง จังหวัดบุรีรัมย์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูวินัยธรอำนาจ พลปญฺโญ;ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
พระวิรุฬชิต นริสฺสโร (เช่นรัมย์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาเปรียบเทียบพิธีกรรมแซนโฎนตาของชาวพุทธจังหวัดสุรินทร์กับชาวจังหวัดบัณเตียยเมียนเจย์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ธนรัฐ สะอาดเอี่ยม;ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
Sam Ath Suon
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลสำเร็จโครงการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานของนิสิตหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสุรินทร์ ปีการศึกษา 2558
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทวีศักดิ์ ทองทิพย์;พระอธิการเวียง กิตฺติวณฺโณ
ชัยศิริ รุ่งเรือง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความพึงพอใจของผู้บริหารสถานศึกษา ครู และนักเรียนที่มีต่อบทบาทพระสงฆ์สอนศีลธรรมในโรงเรียน ในจังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทวีศักดิ์ ทองทิพย์;พระอธิการเวียง กิตฺติวณฺโณ
พระครูสุนทรสีลวัฒน์ (บัญญัติ สีลสาโร)
วิทยานิพนธ์/Thesis
คุณค่าของปราสาทภูมิโปนที่มีต่อวิถีชีวิตชุมชนชาวพุทธในตำบลดม อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูใบฎีกาเวียง กิตฺติวณฺโณ, ผศ. ดร.;รศ. ดร.ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
พระคามิน สิริปญฺโญ (สมนาม)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างและการดำเนินงานเครือข่ายกองบุญคุณธรรมวัดสะเดารัตนาราม ตำบลทุ่งมน อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
รศ. ดร.ทวีศักดิ์ ทองทิพย์;พระครูใบฎีกาเวียง กิตฺติวณฺโณ, ผศ. ดร.
พระครูปริยัติกิตติวรรณ กิตฺติวณฺโณ (ได้ทุกทาง)
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบริหารกิจการคณะสงฆ์อำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทวีศักดิ์ ทองทิพย์;พระครูใบฎีกาเวียง กิตฺติวณฺโณ
พระครูสิริธรรมวิสิฐ (พรสวัสดิ์ ฐิตธมฺโม)
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทการบริหารวัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ชุมชนของพระครูอุปถัมภ์วรคุณ วัดบ้านตะเคียน ตำบลสำโรงทาบ อำเภอสำโรงทาบ จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูใบฎีกาเวียง กิตติวณฺโณ;ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
พระปรัชญ์กรณ์ ชุตินฺธโร (วิยาสิงห์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลสำเร็จการบริหารงานโรงเรียนสุวรรณวิจิตรวิทยา อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูใบฎีกาเวียง กิตติวณฺโณ;ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
พระบุญเสร็จ จนฺทสาโร (มีแก้ว)
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลความเชื่อและพิธีกรรมการบูชาศาลเจ้าพ่อหินตั้งที่มีต่อวิถีชีวิตชุมชนชาวพุทธ ตำบลทะเมนชัย อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทวีศักดิ์ ทองทิพย์;พระครูใบฎีกาเวียง กิตฺติวณฺโณ
พระสมนึก สมจิตฺโต (ศรีรัมย์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาบทบาทการพัฒนาชุมชนของพระครูปทุมเขตบริบาล (เนื่อง อคฺควํโส)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทวีศักดิ์ ทองทิพย์;พระครูใบฎีกาเวียง กิตฺติวณฺโณ
พระครูใบฎีกาณวัฒน์ อรุโณ (กำลังรัมย์)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลสำเร็จของการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของนักเรียนโรงเรียนบ้านขะเนก ตำบลหนองขวาว อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูใบฎีกาเวียง กิตฺติวณฺโณ;ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
พระสมุห์เขตโศภน ธีรปญฺโญ (เข็มแก้ว)
วิทยานิพนธ์/Thesis
คุณค่าของการสร้างพุทธปฏิมากรรมรูปเคารพแบบลอยตัวในประเทศไทย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ทวีศักดิ์ ทองทิพย์;พระครูใบฎีกาเวียง กิตฺติวณฺโณ
พระประยูร วิสุทฺโธ (สร้อยทอง)
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศึกษาบทบาทพระธรรมทูตในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระครูใบฎีกาเวียง กิตฺติวณฺโณ;ทวีศักดิ์ ทองทิพย์
พระครูโสภณวรานุรักษ์ สมวโร (นารี)
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 12
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,527
รวม 2,539 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 211,651 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 681 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 551 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 49 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 43 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 24 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 4 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 213,009 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48