แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

อิทธิพลของสารทดแทนไขมันที่มีผลต่อการเหลือรอดของเชื้อโพรไบโอติคใน ไอศกรีมโยเกิร์ต

Organization : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
keyword: ไอศกรีมโยเกิร์ต
Classification :.DDC: 641.862
; เชื้อโพรไบโอติค
; ไอศกรีม
; โยเกิร์ต
Abstract: การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอซกรีมโยเกิร์ตโพรไบโอติค ซึ่งโพรไบโอติค เป็นเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย ซึ่งจะมีส่วนช่วยในการสร้างความสมดุลให้กับระบบลำไส้ ของมนุษย์ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการนำสารทดแทนไขมันที่มีจำหน่ายในอุตสาหกรรมมา เปรียบเทียบปริมาณที่ใช้ โดยการวิจัยได้ทำการใส่สารทดแทนไขมัน 2 ชนิด คือ Purity SM 100 และ CRYSTAL texTM 648 ทดแทนหางนมในสูตรมาตรฐาน เพื่อศึกษาจำนวนจุลินทรีย์โพรไบโอติคที่ เหลือรอด และทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัส โดยพบว่าทางด้านประสาทสัมผัสไอศกรีม โยเกิร์ตโพรไบโอติคสูตรที่มีการเติม Purity SM 100 ที่ร้อยละ 20 ได้รับการยอมรับอย่างมีนัยสำคัญ มากที่สุด (p≤0.05) เนื่องจากมีกลิ่นรส และรสชาติที่ดีกว่าตัวอย่างตัวอื่นๆ รวมทั้งยังมีการขึ้นฟูที่ดี ที่สุด แต่การเติมสารทดแทนไขมันทั้ง 2 ชนิดดังกล่าว ที่ระดับความเข้มข้นต่างๆไม่ทำให้ค่า pH ใน ตัวผลิตภัณฑ์ไอศกรีมโยเกิร์ตโพรไบโอติคมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≥0.05) และการเติมกล้าเชื้อ Lactobacilluss acidophilus, Bifidobacterium และ Streptococcus thermophilus ลงในไอศกรีมโยเกิร์ตโพรไบโอติคที่มีการทดแทนหางนมด้วยสารทดแทนไขมันทั้ง 2 ชนิด ที่ อัตราส่วนร้อยละ 10, 15 และ 20 ตามลำดับ โดยเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่าชนิดและปริมาณของสารทดแทนไขมันที่ใช้มีผลต่ออัตราการเหลือรอด ของจุลินทรีย์โพรไบโอติคในผลิตภัณฑ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p≤0.05) โดยการเติมสาร ทดแทนไขมัน คือ Purity SM 100 และ CRYSTAL texTM 648 ที่ทุกระดับความเข้มข้น มีผลทำให้ เชื้อจุลินทรีย์โพรไบโอติคสามารถเหลือรอดอยู่ในผลิตภัณฑ์ได้ อยู่ในช่วง 108-109 CFU/ml แสดงให้ เห็นว่าสารทดแทนไขมันทั้ง 2 ชนิดที่ใช้ในการทดลองข้างต้นนั้น มีคุณสมบัติในการห่อหุ้มเซลล์ จุลินทรีย์โพรไบโอติค เมื่อเปรียบเทียบกับไอศกรีมโยเกิร์ตโพรไบโอติคสูตรมาตรฐานที่ไม่มีการเติม สารทดแทนไขมัน ซึ่งจะมีปริมาณจุลินทรีย์โพรไบโอติค เหลือรอดอยู่เพียง 106 CFU/ml
Abstract: Probiotic is a micro organism that is useful for human bodies and can help creating balances for human intestinal system. The objective of this research is to compare amounts of fat substitutes supplied in the industries in order to determine their ability to encapsulate Probiotic microbes in the production of yoghurt ice cream to ensure maximum survived Probiotic microbes. In this research, two fat substitutes, Purity SM 100 and CRYSTAL texTM 648, were used to substitute skim milk in the standard formulas in order to study numbers of survived Probiotic microbes and to test the sensory acceptance. For the sensory acceptance, it was found that the Probiotic yoghurt ice cream containing 20% Purity SM100 is acceptable at the maximum significance (p ≤ 0.05) because its flavor and taste was better than other samples as well as the best overrun with statistical significant differences (p ≤ 0.05). However, by addition of both fat substitutes at different concentrations, pH values of Probiotic yoghurt ice cream products did not have statistical significant differences (p ≥ 0.05). When Lactobacilluss acidophilus, Bifidobacterium, and Streptococcus thermophilus microbial starters were added into the Probiotic yoghurt ice cream using both fat substitutes in place of skim milk at ratios of 10%, 15%, and 20%, respectively, under a storage condition of -20oC for 4 weeks, it was found that types and amounts of fat substitutes affected the surviving rate of Probiotic microbes in the product with a statistical significance (p ≤ 0.05). The addition of fat substitutes, Purity SM100 and CRYSTAL texTM 648, at all concentration levels made Probiotic microbes survive in the product, which illustrated that both fat substitutes used in above experiments could encapsulate Probiotic microbe cells. The survived Probiotic microbes were in the range of 108 – 109 CFU/ml in comparison to the Probiotic yoghurt ice cream with the standard formula without the addition of fat substitutes that has survived Probiotic microbes of only 106 CFU/ml.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: arit@rmutp.ac.th
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Created: 2552
Modified: 2021-01-05
Issued: 2553-08-06
Issued: 2553-08-06
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: 641.862 ส732อ
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Effects of fat substitute on survived probiotic bacteria yoghurt ice cream.pdf 5.36 MB728 2025-06-18 16:07:07
ใช้เวลา
0.015845 วินาที

สิริมนต์ วัฒนชัย
อมรรัตน์ เจริญชัย
Title Creator Type and Date Create
การศึกษากรรมวิธีการผลิตเครื่องปรุงก๋วยเตี๋ยวผัดไทย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
เชาวลิต อุปฐาก
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสูตรและพัฒนากรรมวิธีการผลิตปลานิลหยอง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
นางสาวสุมภา เทิดขวัญชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ ของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดนนทบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
เบญจมาศ คำดา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความพึงพอใจของนักเรียนต่อโครงการอาหารกลางวันในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
สมศรี ด่านตระกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
เครื่องดื่มน้ำนมถั่วเหลืองผสมน้ำแครอท
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย;มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
สุรีย์ แถวเที่ยง
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทผู้ประกอบการอาหารไทยในโรงแรมเขตกรุงเทพมหานครต่อการอนุรักษ์และเผยแพร่อาหารไทย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
อมรรัตน์ เจริญชัย , ให้คำแนะนำ;ศรีสมร คงพันธุ์ , ให้คำแนะนำ
พงษ์ศักดิ์ ทรงพระนาม
งานวิจัย/Research report
การพัฒนาตำรับมาตรฐานอาหารไทยในพิธีการต่างๆ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
อมรรัตน์ เจริญชัย , ผู้ให้คำปรึกษา;ศรีสมร คงพันธุ์ , ผู้ให้คำปรึกษา
พงษ์ศักดิ์ ทรงพระนาม
งานวิจัย/Research report
บทบาทอาจารย์อาหารและโภชนาการ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ต่อการอนุรักษ์อาหารไทย
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วันดี ไทยพานิช;อมรรัตน์ เจริญชัย;ศรีสมร คงพันธุ์
พงษ์ศักดิ์ ทรงพระนาม
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลิตภัณฑ์ธัญพืชผสมใบชะพูลอัดแท่ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
สุธิดา กิจจาวรเสถียร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้และค่านิยมทางประชากรและประชากรศึกษาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา
มหาวิทยาลัยมหิดล
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์;อมรรัตน์ เจริญชัย;ศิริชัย ชินะตังกูร
สมควร สนองอุทัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ตัวแปรที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของกลุ่มเสี่ยงโรคอ้วน ลงพุงกรณีศึกษา:โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไผ่งาม อำเภอโคกสูง จังหวัดสระแก้ว
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
ทัศพร สุดเสน่หา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทัศนคติและความสนใจต่อการฝึกวิชาชีพอาหารไทยของเด็กและเยาวชนชาย กรณีศึกษาศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนส่วนกลาง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย;มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ธรรมรัตน์ สุจริยา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตคู่มือให้ความรู้เรื่องอาหารแก่ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังกรณีศึกษา : โรงพยาบาลศิริราช
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย

วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างเจตคติการดูแลสุขภาพตนเอง การเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุขกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง ของกลุ่มผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านห้วยทรายเหนือ จังหวัดเพชรบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
เจนจิรา บ.ป.สูงเนิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การกำหนดแนวทางการจัดฝึกอบรมวิชาชีพด้านอาหาร ของกลุ่มชุมชนเทศบาลเมืองชะอำ จังหวัดเพชรบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
ชนิดา ประจักษ์จิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการบริโภคผักของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนราชินี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
พิไลวรรณ จันทรังษี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความพึงพอใจของนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรีในการเรียน สาขางานอาหารและโภชนาการ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
ทองใหม่ ทองสุก
วิทยานิพนธ์/Thesis
สมรรถนะร่วมวิชาชีพอาเซียนด้านอาหารและการบริการของนักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาภูเก็ต
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
ภวัต พฤกษารักษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำพริกปลาทูกึ่งสำเร็จรูปแบบผง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
จินต์จุฑา ไชยศรีษะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เค้กขนมหม้อแกงกล้วยหอม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
เขมชุดา วงศ์ผาติกร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การผลิตอาหารว่างจากซังขนุนกรอบ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
จรรญา ด้วงชาวนา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้ ความพึงพอใจ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารในร้านจำหน่ายอาหารของบุคลากร สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
เพชรบุรี รัตนประทีปพร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารเช้าของนักศึกษาวิทยาลัยการโรงแรมและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
ปิยนุช ไกรเทพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาขนมหินฝนทองด้วยแป้งข้าวไรซ์เบอรี่ทดแทนแป้งข้าวเจ้าบางส่วน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
ลัดดาวัลย์ มั่งคั่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมสำปันนีโดยใช้แป้งข้าวลืมผัวทดแทน แป้งมันสำปะหลังบางส่วน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
พรพิมล ธนะศักดิ์สาคร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารของข้าราชการชั้นประทวนสังกัดกรมราชองครักษ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
รภัสสา วังบรรพตดำรง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมทองม้วนเสริมฟักข้าว
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
ศุภเวช ทิพย์ธารา
วิทยานิพนธ์/Thesis
พฤติกรรมการซื้อน้ำตาลมะพร้าวของผู้ซื้อสินค้าตลาดมหาชัย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
สวนีย์ ตั้งเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มข้าวไรซ์เบอร์รี่เสริมโปรตีน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
สิรินดา เอกกิตติเสถียร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวสังข์หยดพองไร้น้ำมันผสมเมล็ดพืช
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
สิดารัตน์ เกษะโกมล
วิทยานิพนธ์/Thesis
พฤติกรรมการบริโภคก๋วยเตี๋ยว และความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ของร้านจำหน่ายก๋วยเตี๋ยวของบุคลากร ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
ชาริสา แสงทองอร่าม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาหลักสูตรวิชาชีพเฉพาะทาง เรื่องการแกะสลักผักและผลไม้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
อมรรัตน์ เจริญชัย
คมกริช ฉายศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารกับค่าดัชนีมวลกายของบุคลากรคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
อมรรัตน์ เจริญชัย
ชนิษฐา อัตนาโถ
บทความ/Article
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 6
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,737
รวม 2,743 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 213,750 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 4,791 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 742 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 117 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 46 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 37 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 18 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 10 ครั้ง
รวม 219,511 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.198