แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Healthy aging from rural thai elderly's perspectives : a case study of Northern village, Thailand
ผู้สูงอายุสุขภาพดีจากมุมมองผู้สูงอายุในชนบท : กรณีศึกษาผู้สูงอายุหมู่บ้านในภาคเหนือของประเทศไทย

LCSH: Ethnology -- Research
LCSH: Older people -- Thailand
LCSH: Older people -- Health and hygiene
LCSH: Older people -- Medical care -- Thailand
Abstract: This ethnographic study was conducted to explore the meaning of healthy aging and its cultural influence contributing to health as perceived by the older-old people (defined as people>75 years old) and their families in rural village, located in Northern region of Thailand. Data were collected from March 2007 through February 2008 by using in-depth interviews, focus group discussions, field observation, and field notes. Data analysis was performed simultaneously throughout the fieldwork. A total of seven healthy older-old adults were interviewed until information was saturated. In addition, seven primary family caregivers, health personnel, community leaders, and community people who worked with the elderly participated in interviews. According to content analysis, healthy aging was described by older-old elderly as a continuing process across time to carry out daily activities to maintain their physical, mental, and spiritual health. Nine components of healthy aging were (1) positive perception about growing old, (2) being able to do or choose something meaningful, (3) having Kum-lung, (4) having a strong heart, (5) absence of disease, (6) having a harmonious family, (7) having a peaceful mind, (8) faith in ancestors and spirits, and (9) having a sense of pride. Family and community people primarily defined healthy aging as health outcomes of the aging process whereas health personnel focused on biological changes. Ways of healthy aging were classified as (1) engaging in culture and religious activities, (2) maintaining self care activities, and (3) promoting interdependence. Family intervention with cultural considerations is important for health personnel among the older-old group. Social and spiritual needs of the elderly must be emphasized to maintain their interdependence and independence. The findings suggest the significance of family and community participation, with cultural sensitivity, to promote health among rural elderly
Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพเชิงชาติพันธุ์วรรณาเพื่อหาความหมายของผู้สูงอายุสุขภาพดี และอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่จากมุมมองของกลุ่มผู้สูงอายุวัยตอนปลาย อายุตั้งแต่ 75 ปีขึ้นไปและครอบครัวที่อาศัยในชนบทของหมู่บ้านในภาคเหนือของประเทศไทย การเก็บข้อมูลเริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม 2550 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2551 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม การสังเกตภาคสนาม และการจดบันทึกภาคสนาม การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ ประเด็นเนื้อหาเกิดขึ้นร่วมกันจนกระทั่งไม่พบข้อมูลใหม่ ได้จำนวนผู้สูงอายุที่ศึกษาจำนวน 7 คน สมาชิก ในครอบครัวของผู้สูงอายุ จำนวน 7 คน สมาชิกชุมชน 6 คนและเจ้าหน้าที่จากสถานีอนามัย 2 คน การวิเคราะห์เนื้อหาพบว่า ผู้สูงอายุให้ความหมายผู้สูงอายุสุขภาพดี คือกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่าง ต่อเนื่องตามกาลเวลา เพื่อคงไว้ซึ่งภาวะสุขภาพดีทั้งทางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ ผู้สูงอายุให้ความหมาย ผู้สูงอายุสุขภาพดีมี 9 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) การรับรู้ด้านบวกเกี่ยวกับผู้สูงอายุ, (2) ความสามารถในการ กระทำหรือปฏิบัติต่อสิ่งที่ให้คุณค่า, (3) มีแรงมีกำลัง, (4) จิตใจแข็งแรง, (5) ไม่เจ็บไม่ไข้, (6) ครอบครัว ปรองดอง อบอุ่น, (7) มีจิตใจสงบ, (8) นับถือและศรัทธาต่อผีบรรพบุรุษ ผีปู่, และ (9) มีความภาคภูมิใจในชีวิต ในขณะที่ครอบครัวและสมาชิกชุมชมจะเน้นผลลัพธ์ของสุขภาพ เจ้าหน้าที่สุขภาพเน้นที่ผลของการ เปลี่ยนแปลงสุขภาพแบบชีวภาพ นอกจากนี้วิถีชีวิตที่ส่งเสริมให้สุขภาพดี สามารถสรุปได้ดังนี้ (1) การปฏิบัติกิจกรรมตามความเชื่อ ทางวัฒนธรรมและศาสนาคงไว้ซึ่งความสุข ความสงบสุขทางจิตใจและจิตวิญญาณ, (2) การดำรงไว้ซึ่งการ ดูแลตนเองอย่างต่อเนื่องตามความเชื่อของครอบครัว, และ (3) การส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับ บุคคลอื่น การศึกษาครั้งนี้เจ้าหน้าที่สุขภาพสามารถนำไปใช้ในการจัดกิจกรรมครอบครัวของกลุ่มผู้สูงอายุ วัยตอนปลายเน้นที่บริบททางวัฒนธรรมเป็นสำคัญ รวมถึงความต้องการทางสังคมและจิตวิญญาณของ ผู้สูงอายุเพื่อคงไว้ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับบุคคลอื่นและความเป็นอิสระ ข้อเสนอแนะจาก การศึกษานี้คือ การสนับสนุนการมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุมีความสำคัญ อย่างมากกับความไวทางวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุที่อาศัยอยู่ในชนบท
Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
Address: NAKHONPATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2008
Modified: 2553-07-20
Issued: 2010-07-19
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: TH C559h 2008
eng
Spatial: Thailand
©copyrights Mahidol University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4637504.pdf 3.21 MB554 2025-03-07 08:56:26
ใช้เวลา
0.265756 วินาที

Chuleekorn danyuthasilpe
Title Contributor Type
Healthy aging from rural thai elderly's perspectives : a case study of Northern village, Thailand
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chuleekorn danyuthasilpe
Kwanjai Amnatsatsue
วิทยานิพนธ์/Thesis
Kwanjai Amnatsatsue
Title Creator Type and Date Create
Factors associated with quality of life among older adults in Bangpa-In district, Ayutthaya province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Kwanjai Amnatsatsue
Nantaporn Jitprasert
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors influencing nutritional self-management among older adults with diabetes mellitus
มหาวิทยาลัยมหิดล
Kwanjai Amnatsatsue
Kasama Sanjaithum
วิทยานิพนธ์/Thesis
Dementia screening test for Thai elderly
มหาวิทยาลัยมหิดล
Kwanjai Amnatsatsue
Sukhontha Siri
วิทยานิพนธ์/Thesis
Physical activity of the older adults in Bangkok
มหาวิทยาลัยมหิดล
Kwanjai Amnatsatsue
Wee Poolsawat
วิทยานิพนธ์/Thesis
Healthy aging from rural thai elderly's perspectives : a case study of Northern village, Thailand
มหาวิทยาลัยมหิดล
Kwanjai Amnatsatsue
Chuleekorn danyuthasilpe
วิทยานิพนธ์/Thesis
Development of mental health assessment tool for Thai older adults
มหาวิทยาลัยมหิดล
Pimsupa Chandanasotthi;Kwanjai Amnatsatsue;Rachanee Sunsern;Dechavudh Nityasuddhi
Chanita Praditsathaporn
วิทยานิพนธ์/Thesis
Development of a community-based fall prevention model for Thai older adults, living in an urban community, Bangkok
มหาวิทยาลัยมหิดล
Kwanjai Amnatsatsue;Patcharaporn Kerdmongkol;Suchinda Jarupat Maruo;Dechavudh Nityasuddhi
Kamonrat Kittipimpanon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Inequities in access to maternal and child health services in Indonesia : an analysis among high, middle, and low income provinces
มหาวิทยาลัยมหิดล
Natkamol Chansatitporn;Nawarat Suwannapong;Punyarat Lapvongwatana;Kwanjai Amnatsatsue
Swarjana, I Ketut, 1974-
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 6
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,002
รวม 3,008 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 66,893 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 39 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 14 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 6 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 66,955 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48