แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Prevalence of orofacial pain in general population in Bangkok
ความชุกของความเจ็บปวดบริเวณใบหน้าช่องปากในประชากรกรุงเทพมหานคร

MeSH: Epidemiology
MeSH: Facial Pain
LCSH: Orofacial pain
Abstract: Orofacial pain (OFP) is one of the most common regional pains that has an impact on a patient’s quality of life. The study aims to evaluate the prevalence of orofacial pain and treatment seeking behavior in the general population in Bangkok. A descriptive, cross-sectional survey of 1,501 randomly selected people living in 10 different districts in Bangkok was carried out. The subjects completed a questionnaire about orofacial pain symptoms and treatment seeking behavior. There were 867 females (57.8%) and 634 males (42.2%). The average age was 41.74 + 14.87 years old. Most subjects had an educational level lower than bachelor degree (87.9%). The average monthly income was less than 8,500 baht (67.8%). Over half (57.2%) of subjects had reported the experience of OFP in the six months prior to the survey. These subjects were denominated the OFP group. There were significant differences between gender and age within the OFP group (p<0.05). The most commonly reported symptoms were headache (47.6 %), toothache and tooth sensitivity (37.6%), and oral sores and burning sensation (29.5%). Of the OFP group,12.6% had been absent from work because of pain. The percentage of treatment seeking behavior in the OFP group was 71.6%. Most of them used over-the-counter medications to relieve their pain (45.9%). General medical practitioners (24.7%) and dentists (19.3%) were among the professionals that they consulted with for treatment. OFP was commonly found in the general population in Bangkok. The pain affected their quality of life and caused them to be absent from work. The treatment seeking behavior of the OFP group was higher than that shown in previous studies. This behavior may be related to educational level and age.
Abstract: ความเจ็บปวดบริเวณใบหน้าช่องปากเป็นความเจ็บปวดเฉพาะส่วนที่พบบ่อยว่าส่งผล กระทบต่อการดำเนินชีวิต การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความชุกของความเจ็บปวด บริเวณใบหน้าช่องปากและพฤติกรรมการไปรับการรักษาในประชากรกรุงเทพมหานคร วิธีการ : การศึกษาเป็นเชิงพรรณนา สำรวจแบบภาคตัดขวาง โดยสุ่มตัวอย่างจำนวน 1,501 คน จาก 10 เขตที่ แตกต่างกันในกรุงเทพมหานคร เพื่อตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับอาการเจ็บปวดบริเวณใบหน้าช่อง ปากและพฤติกรรมการไปรับการรักษา ผลการศึกษา : กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิง 867 คน (ร้อยละ 57.8) และเพศชาย 634 คน (ร้อยละ42.2) อายุเฉลี่ย 41.74 + 14.87 ปี กลุ่มตัวอย่างส่วนมากมีระดับ การศึกษาต่ำกว่าระดับปริญญาตรี (ร้อยละ87.9) และมีรายได้ต่อเดือนต่ำกว่า 8,500 บาท (ร้อยละ 67.8) กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 57.2 รายงานประสบการณ์ความเจ็บปวดบริเวณใบหน้าช่องปากใน ระยะเวลา 6 เดือนที่ผ่านมา ซึ่งพบความแตกต่างระหว่างเพศในกลุ่มผู้มีความเจ็บปวดบริเวณใบหน้า ช่องปากอย่างมีนัยสำคัญ (p< 0.05) อาการที่พบบ่อยที่สุดคืออาการปวดศีรษะ (ร้อยละ47.6) อาการ ปวดฟันและอาการเสียวฟัน (ร้อยละ37.6) และการมีแผลในช่องปากและอาการปวดแสบปวดร้อน ในช่องปาก (ร้อยละ29.5) กลุ่มผู้มีอาการเจ็บปวดบริเวณใบหน้าช่องปากร้อยละ 12.6 ขาดงาน เนื่องจากความเจ็บปวด มีผู้สนใจไปรับการรักษา (ร้อยละ71.6) ส่วนใหญ่ซื้อยารับประทานเอง (ร้อย ละ 45.9) พบแพทย์ (ร้อยละ24.7) และทันตแพทย์ (ร้อยละ19.3) เพื่อปรึกษาเกี่ยวกับการรักษา สรุปผลการศึกษา : ความเจ็บปวดบริเวณใบหน้าช่องปากพบได้ทั่วไปในประชากรกรุงเทพมหานคร ซึ่งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและเป็นสาเหตุของการขาดงานซึ่งคล้ายคลึงกับการศึกษาอื่น พฤติกรรมการไปรับการรักษาความเจ็บปวดนั้นมีอัตราสูงกว่าการศึกษาอื่นก่อนหน้านี้ พฤติกรรมนี้ อาจสัมพันธ์กับระดับการศึกษาและอายุ
Mahidol University
Address: NAKHONPATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2009
Modified: 2553-06-19
Issued: 2010-06-19
CallNumber: TH S619pr 2009
eng
DegreeName: Master of Science
Descipline: Dentistry
©copyrights
RightsAccess:
ใช้เวลา
0.034262 วินาที

Sirikamon Inthawi
Title Contributor Type
Panupen Sitthisomwong
Title Creator Type and Date Create
Long term efficiency of occlusal splint therapy in self-reported bruxists and temporomandibular disorders patients
มหาวิทยาลัยมหิดล
Panupen Sitthisomwong
Kanjana Chavalertsakul
วิทยานิพนธ์/Thesis
Prevalence of orofacial pain in general population in Bangkok
มหาวิทยาลัยมหิดล
Panupen Sitthisomwong
Sirikamon Inthawi
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,726
รวม 2,726 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.149