แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Preparation and evaluation of recrystallized lactose for dry powder inhaler
การเตรียมและประเมินแลคโทสสำหรับใช้ในตำรับยาสูดพ่นชนิดผง

MeSH: Administration Inhalation
MeSH: Crystallization
MeSH: Lactose
MeSH: Neulizers and Vaporizers
MeSH: Powders (Pharmacy)
Abstract: Improvement of physicochemical properties of lactose carrier by means of crystal engineering has been reported to increase the deposition of drug in lower airways. α-lactose monohydrate was crystallized either from carbopol gel without strirring or from a constantly-stirred aqueous solution, to obtain lactose crystals designed as carbopol lactose crystals and water lactose crystals, respectively. The carbopol lactose crystals were shown to have a more narrow size distribution than water lactose crystals. The carbopol lactose crystals were tomahawk shape, with higher elongation ratio when compared with the lactose raw material crystals and water lactose crystals. DSC, TGA and FT-IR showed that lactose crystals produced from water or from carbopol gel solution existed as α-lactose monohydrate. The effect of milling on physicochemical characteristics of lactose crystals has been determined. It was shown that milling results in surface change of lactose crystal and a decrease in elongation ratio. As the elongation ratio decreased the flow properties of carbopol lactose crystals was improved. From DSC and XRD studies, it was shown that milling caused a decrease in crystallinity of α-lactose monohydrate. The effect of milling of the lactose crystals on the adhesion forces was investigated. Evaluation of adhesion was carried out by mechanical sieve and tensile strength methods. The results obtained from both methods demonstrated that physical interactions between propranolol hydrochloride or anhydrous theophylline with the lactose raw material crystals were significantly stronger than those with carbopol lactose crystals (p < 0.05). Adhesion force of both drugs was stronger as the milling time was increased. Adhesion force of small size (>150-420 μm) lactose was significantly stronger than that of large size (>420-850 μm) lactose. Additionally, it was shown that adhesion force of anhydrous theophylline was significantly stronger than propranolol hydrochloride for all types of lactose crystals. (p < 0.05).
Abstract: การพัฒนาคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของแลคโทสโดยวิธีการตกผลึกช่วยให้สามารถนำส่งยาลงไปสู่ทางเดินหายใจส่วนล่างได้มากขึ้น ผลึกแลคโทสโมโนไฮเดรตเตรียมจากวิธีการตกผลึกโดยใช้คาร์โบพอลในสภาวะที่ปราศจากการรบกวนจากการคนและการตกผลึกในน้ำที่มีการคนอย่างสม่ำเสมอ ผลึกที่เตรียมด้วยคาร์โบพอลมีการกระจายขนาดอนุภาคที่แคบกว่าผลึกที่เตรียมด้วยน้ำ ผลึกที่เตรียมได้จากคาร์โบพอลมีรูปร่างเป็นโทมาฮอกและมีอัตราส่วนของด้านยาวที่ยาวกว่าด้านกว้างมากกว่าผลึกแลคโทสก่อนนำมาตกผลึกและแลคโทสที่เตรียมได้จากน้ำ ผลการศึกษาคุณสมบัติโดยดีเอสซี,ทีจีเอ,เอฟที-ไออาร์และเอกซเรย์ดิฟแฟรคชั่นของแลคโทสที่เตรียมได้จากคาร์โบพอลและแลคโทสที่ตกผลึกด้วยน้ำพบว่าอยู่ในรูปอัลฟา การศึกษาผลของการย่อยขนาดที่มีต่อคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีพบว่าหลังจากการย่อยขนาดผลึกของแลคโทสมีการเปลี่ยนแปลงของพื้นผิวและมีขนาดของด้านยาวต่อด้านกว้างลดลง คุณสมบัติดังกล่าวจะส่งผลทำให้แลคโทสมีคุณสมบัติการไหลดีขึ้น เมื่อทำการวิเคราะห์ด้วยดีเอสซีและเอกซเรย์ดิฟแฟรคชั่นพบว่าการย่อยขนาดส่งผลทำให้คุณสมบัติความเป็นคริลตัสของผลึกลดลง แรงระหว่างอนุภาคแลคโทสที่ถูกย่อยขนาดกับตัวยาถูกประเมินโดยเครื่องคัดแยกขนาดแบบสั่นและเครื่องวัดเทนซายด์สเตรนท์ จากการประเมินผลทั้งสองวิธีให้ผลเหมือนกันโดยพบว่าแรงระหว่างอนุภาคของแลคโทสก่อนนำมาตกผลึกกับโพรพาโนรอลไฮโดรคลอไรด์หรือทีโอฟีลีนแอนไฮดรัสมีมากกว่าแลคโทสที่เตรียมจากคาร์โบพอล (p < 0.05) แรงระหว่างอนุภาคของแลคโทสที่มีขนาดเล็ก (>150-420 μm) กับตัวยาทั้งสองจะมีมากกว่าแลคโทสที่มีขนาดใหญ่ (>420-850 μm) การเพิ่มระยะเวลาในการย่อยขนาดแลคโทสที่นานขึ้นส่งผลทำให้แรงระหว่างอนุภาคของยาทั้งสองกับแลคโทสเพิ่มขึ้นตามลำดับ นอกจากนี้พบว่าแรงระหว่างอนุภาคของแลคโทสทุกชนิดกับทีโอฟีลีนแอนไฮดรัสจะมีมากกว่าโพรพาโนรอลไฮโดรคลอไรด์ (p < 0.05)
Mahidol University
Address: NAKHONPATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2008
Modified: 2020-11-03
Issued: 2010-06-18
CallNumber: TH A313p 2008
eng
DegreeName: Master of Science
Descipline: Pharmaceutics
©copyrights
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4937713.pdf 4.76 MB15 2023-07-09 20:17:36
ใช้เวลา
-0.727616 วินาที

Akaraphon Nacornchai
Title Contributor Type
Preparation and evaluation of recrystallized lactose for dry powder inhaler
มหาวิทยาลัยมหิดล
Akaraphon Nacornchai
Pojawon Lawanprasert
วิทยานิพนธ์/Thesis
Pojawon Lawanprasert
Title Creator Type and Date Create
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,103
รวม 3,103 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.149