แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Coastal erosion related to hydro-meteorological regimes at Pak Phanang Bay Nakhon Si Thammarat province
การกัดเซาะชายฝั่งที่มีความสัมพันธ์กับปัจจัยทางด้านอุทก-อุตุนิยมวิทยาบริเวณปากอ่าวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช

LCSH: Coastal zone management -- Nakhon Si Thammarat
LCSH: Hydrometeorology
LCSH: Sea level -- Nakhon Si Thammarat
LCSH: Shore protection -- Nakhon Si Thammarat
Abstract: This study aimed to examine the relationship between coastal erosion at Pak Phanang Bay in Nakhon Si Thamarat Province and hydro-meteorological regimes by using secondary data and satellite images. LANDSAT-5 TM from the years 1990, 1998 and 2007 were used to monitor shoreline changes. The rate of change was evaluated by using the overlaying technique. The prioritizations of the eroded areas were classified based on Multiple Criteria Analysis (MCA). There were 5 factors that were used in the MCA technique: (1) rate of coastal erosion; (2) land use and environmental values; (3) existing coastal protective measures; (4) minimum economic loss values; and (5) attentiveness in the mitigation and adaptation. The results of the study suggest that hydro-meteorology regimes have prevailing tendency to increase and become more severe every year. The highest amount of coastal erosion happens during the northeast monsoon period. Shoreline erosion could be prioritized into 9 areas according to their severity. The most critical erosion shorelines are: Ban Kong Khong, Ban Hua Tanon Chaitalay, Ban Plai Sai, Ban Laem Talumphuk, Ban Noen Num Hak, Ban Na Kot, Ban Kho Pai, Ban Nam Sap and Ban Bo Khon Thi respectively. To avoid a coastal erosion impact, villagers could simply move away from these areas. Based on these results, reducing or mitigating coastal erosion could be done in two periods. In the short term, changes in lifestyles such as building codes in the vulnerability zones. The elements used to elevate the buildings are bricks, concrete. Therefore, encouragement of integrated management system, local wisdom and promotion of public participation in coastal resource planning are strongly recommended. In the long term, since coastal erosion might be affected by a rise in sea level due to global warming, re-establishing natural environmental features in the areas for seashore stability is recommended.
Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการกัดเซาะชายฝั่งกับปัจจัยทางด้านอุทก- อุตุนิยมวิทยา บริเวณอ่าวปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ และใช้ข้อมูลภาพถ่าย ดาวเทียม LANDSAT-5TM บันทึกข้อมูลปี พ.ศ.2533, 2541 และ 2550 เพื่อหาอัตราการกัดเซาะของ ชายฝั่ง โดยวิธีการซ้อนทับ (Overlay) ของระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ และจัดลำดับพื้นที่เสี่ยงภัยจาก การกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้วิธีวิเคราะห์ทางเลือกแบบหลายปัจจัย (Multiple Criteria Analysis: MCA) ปัจจัยที่ใช้พิจารณามี 5 ปัจจัย ดังต่อไปนี้ (1) ความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่ง (2) การใช้ประโยชน์ ที่ดินและสภาพแวดล้อม (3) มาตรการป้องกันแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง (4) มูลค่าความเสียหายจาก การกัดเซาะชายฝั่ง และ (5) ความตื่นตัวของชาวบ้านในการปรับตัวและความพยายามที่จะลดความรุนแรง ของการกัดเซาะชายฝั่ง ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยทางด้านอุทก – อุตุนิยมวิทยา มีแนวโน้มเพิ่มความรุนแรงขึ้นทุกปี โดย สาเหตุหลักของการกัดเซาะชายฝั่งเกิดจากอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พื้นที่ชายฝั่งที่มีการ กัดเซาะอย่างรุนแรงและอยู่ในขั้นเสี่ยงภัย มีจำนวน 9 พื้นที่ โดยเรียงลำดับตามความรุนแรงได้ดังนี้ ชายฝั่ง บ้านโก้งโค้ง, ชายฝั่งบ้านหัวถนนชายทะเล, ชายฝั่งบ้านปลายทราย, ชายฝั่งบ้านแหลมตะลุมพุก, ชายฝั่ง บ้านเนินน้ำหัก, ชายฝั่งบ้านหน้าโกฐิ, ชายฝั่งบ้านเกาะฝ้าย, ชายฝั่งบ้านนำทรัพย์ และชายฝั่งบ้านบ่อคณฑี สำหรับความคิดเห็นของชาวบ้าน ส่วนใหญ่มีความเห็นว่าปัจจัยทางด้านอุทก – อุตุนิยมวิทยา มีความ รุนแรงเพิ่มขึ้นทุกปี และมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม 2 แบบ คือ มีการปรับตัวและมีความพยายามที่จะลด ความรุนแรงของการกัดเซาะชายฝั่ง แนวทางในการป้องกันและแก้ไขการกัดเซาะชายฝั่ง ในระยะสั้น ควร ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต เช่น การปลูกสร้างที่อยู่อาศัย บริเวณที่มีความอ่อนไหวต่อการกัดเซาะชายฝั่ง วัสดุที่ใช้ ก่อสร้างควรเป็นอิฐ หรือคอนกรีต นอกจานนี้ ควรมีระบบการจัดการแบบบรูณาการ โดยมุ่งเน้นส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมของประชาชนให้มากขึ้น ส่วนในระยะยาว ปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง จะได้รับอิทธิพลจากการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำทะเลเนื่องการสภาวะโลกร้อน ซึ่งควรเร่งการฟื้นฟูสภาพ สิ่งแวดล้อมเพื่อสร้างความมั่นคงให้กับพื้นที่ชายฝั่ง
Mahidol University
Address: NAKHONPATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2008
Modified: 2553-06-21
CallNumber: TH N821c 2008
eng
Spatial: Nakhon Si Thammarat
DegreeName: Master of Science
©copyrights
RightsAccess:
ใช้เวลา
0.017541 วินาที

Noppol Arunrat
Title Contributor Type
Coastal erosion related to hydro-meteorological regimes at Pak Phanang Bay Nakhon Si Thammarat province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Noppol Arunrat
Nathsuda Pumijumnong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Nathsuda Pumijumnong
Title Creator Type and Date Create
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,201
รวม 3,201 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.10