แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Small scale fishermen's opinions regarding the breeding of sea mussels for a parttime job : a case study of fishing village Banpakkrongpamong Tambon Phantainorasingh Samuthsakhon province
ความคิดเห็นของชาวประมงพื้นบ้านที่มีต่อการเลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นอาชีพเสริม : ศึกษากรณีชุมชนหมู่บ้านปากคลองประมง ตำบลพันท้ายนรสิงห์ จังหวัดสมุทรสาคร

LCSH: Attitude
LCSH: Mytilidae
LCSH: Fishers -- Samuthsakhon
Abstract: The objective of this research was to study the opinions, the factors influencing opinions, the difficulties, recommendations of small scale fisherman regarding the breeding of sea mussels for a part time job in a fishing village in Banpakkrongpamong, Samuthsakhon Province. This research was conducted as survey research using questionnaires and in-depth interviews. Sample participants consisted of 113 head of households or representative of families who had made their livings from small scale fishery and breeding sea mussels as supplementary income in the fishing village of Banpakkrongpamong, Samuthsakhon Province. Data derived from the study was analyzed using percentages, means, standard deviation, T-tests and one-way analysis of variance. Results of the study indicated that most sample participants moderately agreed with the breeding of sea mussels for supplementary income. After studying fishermen’s opinions, the findings revealed that the number of household members, community member status and attitude toward small scale fishing were factors that created significant differences (at 0.001) in opinion among small scale fishermen toward the breeding of sea mussels for supplementary income as well as in the duration of small scale fishing (at 0.01). Average monthly income and perceived value of natural resources and environment also contributed to small scale fishermen’s’ opinions regarding the breeding of sea mussels as supplementary income, with statistical difference at 0.05. As for problems and setbacks, it as found that industrial waste water affected growth and dying rate of sea mussels, and that storms and strong currents damaged sea mussels’ poles. In addition there were problems relating to investments and debts. This study suggests to recommendations in breeding sea mussels as supplementary income in Banpakkrongpamong, Samuthsakhon Province. Assistance is necessary from concerned public and private sectors in breeding sea mussels as supplementary income including ways to solve problems from industrial and natural waste water. Furthermore, the government should provide more knowledge to small scale fishermen regarding breeding of sea mussels as well as designating proper areas. More assistance should be provided with funding and financed problems for this purpose. Enforcing laws in regard to setting up proper locations for breeding sea mussels should be considered to prevent or alleviate further problems that might occur.
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็น ปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นและศึกษาปัญหา อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะของชาวประมงพื้นบ้านที่มีต่อการเลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นอาชีพเสริม โดยทำการศึกษาเฉพาะกรณีชุมชนหมู่บ้าน ปากคลองประมง ตำบลพันท้ายนรสิงห์ จังหวัดสมุทรสาคร การดำเนินการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ (Surrey Research) โดยใช้แบบสอบถามประกอบการสัมภาษณ์ร่วมกับ เทคนิควิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ หัวหน้าครัวเรือน หรือ ตัวแทนของหัวหน้าครัวเรือนที่ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน และเลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นอาชีพเสริมทุกครัวเรือนที่อาศัยอยู่ใน หมู่บ้านปากคลองประมง หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 8 ตำบลพันท้ายนรสิงห์อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาครจำนวน 113 ครัวเรือน ข้อมูล ที่ได้จากการศึกษา ผู้วิจัยได้นำมาวิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ T – test และการวิเคราะห์ผันแปรทางเดียว ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการเลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นอาชีพเสริมในระดับปานกลาง และเมื่อ ทำการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็น ผลการศึกษาพบว่า จำนวนสมาชิกในครัวเรือน การเป็นสมาชิกกลุ่มในชุมชน และ ทัศนคติเกี่ยวกับการประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นของชาวประมงพื้นบ้านต่อการเลี้ยง หอยแมลงภู่เป็นอาชีพเสริมโดยก่อให้เกิดความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ระยะเวลาในการประกอบ อาชีพประมงพื้นบ้าน เป็นปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นของชาวประมงพื้นบ้านต่อการเลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นอาชีพเสริมโดย ก่อให้เกิดความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัว และการให้คุณค่าต่อ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นของชาวประมงพื้นบ้านต่อการเลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นอาชีพ เสริมโดยก่อให้เกิดความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในส่วนของการศึกษาปัญหาอุปสรรคการเลี้ยง หอยแมลงภู่เป็นอาชีพเสริมพบว่า กลุ่มประชากรได้รับผลกระทบจากปัญหาน้ำเน่าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งส่งผลกระทบ ต่อการเจริญเติบโต และการตายของหอยแมลงภู่ รวมถึงปัญหา พายุ คลื่นลมแรงซึ่งส่งผลให้หลักหอยแมลงภู่ ชำรุดเสียหาย และ ปัญหาด้านการเงิน การลงทุน และหนี้สิน จากผลการศึกษาดังกล่าวนำไปสู่ข้อเสนอแนะในการเลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นอาชีพเสริมในชุมชนหมู่บ้านปากคลองประมง ตำบลพันท้ายนรสิงห์ จังหวัดสมุทรสาคร กล่าวคือ ควรมีการร่วมมือกันจากภาครัฐ และองค์กรภาคประชาชนที่เกี่ยวข้องกับการ เลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นอาชีพเสริมในการแก้ไขปัญหาน้ำเน่าเสียทั้งจากโรงงานอุตสาหกรรม และจากน้ำเสียตามธรรมชาติ นอกจากนี้หน่วยงานภาครัฐควรให้การสนับสนุนชาวประมงพื้นบ้านที่เลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นอาชีพเสริมในเรื่องของความรู้ในการ เลี้ยงหอยแมลงภู่ที่ถูกวิธี และเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ รวมทั้งสนับสนุนเงินทุนในการเลี้ยงหอยแมลงภู่เป็นอาชีพเสริม และ สนับสนุนอุปกรณ์ที่จำเป็นในการเลี้ยงหอยแมลงภู่ รวมถึงการจัดสรรที่อยู่อาศัย และพื้นที่ในการเลี้ยงหอยแมลงภู่ และการ แก้ปัญหาหนี้สินของชาวประมงพื้นบ้าน นอกจากนี้ควรใช้วิธีประนีประนอมควบคู่ไปกับการบังคับใช้กฎหมายในการ กำหนดพื้นที่ที่เหมาะสมในการเลี้ยงหอยแมลงภู่ เพื่อเป็นการป้องกัน หรือบรรเทาเบาบางปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นต่อไปในอนาคต
Mahidol University
Address: NAKHONPATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2006
Modified: 2010-06-19
Issued: 2010-06-17
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: TH S486s 2006
eng
Spatial: Samuthsakhon
DegreeName: Master of Arts
Descipline: Environment
©copyrights Mahidol University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4636171.pdf 3.38 MB54 2024-05-28 10:24:57
ใช้เวลา
0.256545 วินาที

Sermpon Dulyapintukorn
Title Contributor Type
Small scale fishermen's opinions regarding the breeding of sea mussels for a parttime job : a case study of fishing village Banpakkrongpamong Tambon Phantainorasingh Samuthsakhon province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sermpon Dulyapintukorn
Shutima Saengngern
วิทยานิพนธ์/Thesis
Shutima Saengngern
Title Creator Type and Date Create
Knowledge and awareness of public health volunteers concerning food safety : a case study in muang district, Udon Thani province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Shutima Saengngern
Marut Nambutr
วิทยานิพนธ์/Thesis
The consciousness of local people in environmental conservation : a case study of Koh Samet Rayong province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Shutima Saengngern
Rathirat Kewmesuin
วิทยานิพนธ์/Thesis
The behavior of medical professionals in private hospital regarding infectious waste management : a case study of Thonburi 1 and Thonburi 2 Hospitals
มหาวิทยาลัยมหิดล
Shutima Saengngern
Buathip Phangsri
วิทยานิพนธ์/Thesis
The opinion of people in Bangkok Metropolis towards chemical residue free vegetables
มหาวิทยาลัยมหิดล
Shutima Saengngern
Napaporn Tengkaew
วิทยานิพนธ์/Thesis
Knowledge and awareness of citizens regarding environmental problems : a case study of Bangkok public park
มหาวิทยาลัยมหิดล
Shutima Saengngern
Arthit Chatmongkonwong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Small scale fishermen's opinions regarding the breeding of sea mussels for a parttime job : a case study of fishing village Banpakkrongpamong Tambon Phantainorasingh Samuthsakhon province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Shutima Saengngern
Sermpon Dulyapintukorn
วิทยานิพนธ์/Thesis
The participation of local people in environmental conservation : a case study of Pak-Meng Beach Sikao District Trang province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Pannipa Buraphacheep;Jiraporn Chuckpaiwong;Shutima Saengngern
Chusa Saowaphak
วิทยานิพนธ์/Thesis
Tourists' behavior to promote conservation tourism in Ko Kret Pak Kret district Nonthaburi province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jiraporn Chuckpaiwong;Shutima Saengngern;Pannipa Buraphacheep
Charuwan Saengjun
วิทยานิพนธ์/Thesis
The adoption of herbal cosmetic products a case study of the herbal cosmetic products produced by Chaophaya Abhaibhubejhr Hospital in Prachinburi province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jiraporn Chuckpaiwong;Pannipa Buraphacheep;Shutima Saengngern
Dansroung Wannawongsoun
วิทยานิพนธ์/Thesis
The participation of local people in environmental performance : Healthy city project for Banmee Municipality Lopburi province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jiraporn Chuckpaiwong;Pannipa Buraphacheep;Shutima Saengngern
Varunee Pimpa
วิทยานิพนธ์/Thesis
Waste reduction behavior of residents in townhouse villages in Chatuchak district Bangkok metropolis
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jiraporn Chuckpaiwong;Pannipa Buraphacheep;Shutima Saengngern
Soithip Weerasoonthon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 716
รวม 716 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 37,005 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 22 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 8 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 5 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 37,043 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48