แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ป่าทามกับความพออยู่พอกินระดับครัวเรือน : กรณีศึกษากลุ่มลุ่มแม่น้ำสงครามตอนล่าง
Seasonally flooded forest and household subsistence livelihood : a case of the Lower Songkhram River Basin, Thailand

ThaSH: ป่าบุ่งและป่าทาม
ThaSH: เศรษฐกิจพอเพียง
ThaSH: เศรษฐกิจชุมชนท้องถิ่น
ThaSH: ลุ่มแม่น้ำสงครามตอนล่าง
Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อให้เห็นว่าป่าทามมี ผลต่อความพออยู่พอกินระดับครัวเรือนและวิเคราะห์ว่าปัจจัยใดมีผลต่อความพออยู่พอกินระดับครัวเรือน โดยใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้มีความรู้ในพื้นที่โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง 269 ครัวเรือน ใน 12 หมู่บ้าน ที่อาศัยในพื้นที่ลุ่มน้ำสงครามตอนล่าง จังหวัดนครพนม เริ่มเก็บข้อมูล ตุลาคม 2549 ถึง มกราคม 2550 วิเคราะห์ผลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS นำเสนอค่าสถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สมการถดถอยแบบโลจิสติคดัชนีชี้วัดความพออยู่พอกินระดับครัวเรือน คือ ดัชนีที่ 1 เปรียบเทียบอัตราส่วนระหว่าง ปริมาณการบริโภคทรัพยากรที่ได้จากป่าทาม กับ ปริมาณทรัพยากรที่ครัวเรือนสามารถหาได้จากป่าทาม และดัชนีที่ 2 เปรียบเทียบอัตราส่วนระหว่าง ปริมาณการบริโภคทรัพยากร กับ ปริมาณอาหารที่คนไทยควรบริโภค ทรัพยากรที่ศึกษาคือ ข้าว ผัก และปลา ผลการศึกษาพบว่าครัวเรือนส่วนใหญ่มีความพออยู่พอกิน : 61.3% 69.5% และ 69.1% ในเรื่องข้าว ผัก และปลา ตามลำดับ จากปริมาณข้าว ผัก และปลา ที่ครัวเรือนสามารถหาได้จากพื้นที่ป่าทาม 82.5 % บริโภคข้าวมากกว่าปริมาณข้าวที่คนไทยควรบริโภค (กรมอนามัย:2540) แต่ 85.1% และ 97 % บริโภคผักและปลาน้อยกว่าปริมาณผักและปลาที่คนไทยควรบริโภค (กรมอนามัย:2540) แม้ว่าครัวเรือนจะมีความพออยู่พอกินจากทรัพยากรที่หามาจากป่าทามได้มาก แต่ครัวเรือนจะจำหน่ายทรัพยากรที่เหลือจากการบริโภคเพื่อเป็นรายได้แก่ครัวเรือน ปัจจัยที่มีผลต่อ การใช้ทรัพยากรจากป่าทามกับความพออยู่พอกินระดับครัวเรือน คือ เพศของหัวหน้าครัวเรือน จำนวนปีที่ใช้ในการศึกษา จำนวนสมาชิกในครัวเรือน ขนาดพื้นที่ทามของครัวเรือน ระยะทางจากบ้านถึงป่าทาม ขนาดพื้นที่ของครัวเรือน อาชีพเสริมของครัวเรือนและ ความแตกต่างของหมู่บ้านจากข้อมูลที่ได้ชี้ให้เห็นว่า ป่าทาม มีสำคัญกับความพออยู่พอกินระดับครัวเรือนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติควรหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงหรือทำลายธรรมชาติของป่าทามในลุ่มน้ำสงครามตอนล่าง และไตร่ตรองอย่างรอบคอบก่อนจะทำการใดๆ ในพื้นที่ป่าทาม
Abstract: The study aimed at determining the contribution of seasonally flooded forest to the subsistence of local households and exploring factors affecting household subsistence livelihood. Structured questionnaire and in-depth interview were used as key tools for data collection. Sampled population consisted of 269 household heads in 12 villages located on both sides of the lower Songkhram River in Nakhon Phanom Province, Thailand. Data collected during October 2005 – January 2006 were analyzed through the Statistical Package for Social Sciences (SPSS), using percentage, mean, standard deviation, and logistic regression. Two indices were used to indicate the household subsistence livelihood. The first index was the proportion of the total amounts of products that households actually harvested from seasonally flooded forest per year over the actual amount of products consumed by household per year. The second index was the proportion of the actual amounts of products consumed by household over the standard amounts of products which Thais should consume. Products in consideration were staple foods, namely rice, vegetables and fish. The results revealed that most of the sampled households had subsistence livelihood: 61.3 %, 69.5 % and 69.1 % of the households had sufficient rice, vegetable and fish consumption, respectively. Amounts of rice, vegetable and fish products that households could harvest from seasonally flooded forest areas per year exceeded the actual amounts consumed by households per year. 82.5 % of the households consumed rice more than the standard (Department of Health: 1997). However, 85.1% and 97 % of the households consumed less vegetable and fish, respectively, than the standard (Department of Health: 1997), despite sufficient harvesting amounts, rather they sold the surplus products for income. Factors affecting the contribution of seasonally flooded forest to the household subsistence livelihood included gender of the household head, number of years in school, number of household members, size of harvesting area, distance from house to the flooded forest, number of household occupations, type of supplementary occupation, and difference of villages. It could be concluded that seasonally flooded forest had significant contribution to household subsistence and livelihood. Any change or damage of natural characteristics of seasonally flooded forest of the lower Songkhram River Basin should be avoided and carefully thought of.
มหาวิทยาลัยมหิดล
Address: นครปฐม
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Created: 2550
Modified: 2553-06-22
Issued: 2553-06-12
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: วพ พ431ป 2550
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยมหิดล
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4837478.pdf 4.63 MB167 2022-10-15 22:10:34
ใช้เวลา
0.314597 วินาที

พฤกษ์ จิรสัตยาภรณ์
Title Contributor Type
ป่าทามกับความพออยู่พอกินระดับครัวเรือน : กรณีศึกษากลุ่มลุ่มแม่น้ำสงครามตอนล่าง
มหาวิทยาลัยมหิดล
พฤกษ์ จิรสัตยาภรณ์
ศันสนีย์ ชูแวว
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสำรวจมาตรฐานคุณภาพชีวิตคนพิการ
มหาวิทยาลัยธนบุรี
พรธิดา วิเศษศิลปานนท์;พฤกษ์ จิรสัตยาภรณ์;สมศรี ศิริขวัญชัย

บทความ/Article
ศันสนีย์ ชูแวว
Title Creator Type and Date Create
การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมอย่างมีส่วนร่วมของบุคลากรองค์การบริหารส่วนตำบลในการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำทุ่งสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันท์
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว
สมศักดิ์ มงคลธนวัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ป่าทามกับความพออยู่พอกินระดับครัวเรือน : กรณีศึกษากลุ่มลุ่มแม่น้ำสงครามตอนล่าง
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว
พฤกษ์ จิรสัตยาภรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปริมาณโลหะหนัก 6 ชนิดที่ตกค้างในน้ำ ดินตะกอน และปูทะเล (Scylla serrata Forskal) ในป่าชายเลนบริเวณโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
มหาวิทยาลัยมหิดล
สุชาติ นวกวงษ์;ศันสนีย์ ชูแวว;พัฒน ทวีโชค
ศิริพงค์ ชอบแต่ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
อิทธิพลของน้ำและดินตะกอนของน้ำทิ้งจากนากุ้งต่อโครงสร้างและการเจริญเติบโตของไม้ป่าชายเลนบริเวณอ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรี
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว;สนิท อักษรแก้ว;พิพัฒน์ พัฒนผลไพบูลย์
ศิริพร วรกุลดำรงชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติป่าพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิสิฐ ศุกรียพงศ์;ศันสนีย์ ชูแวว;พุทธชาติ ชุณสาคร;อภิชาต จงสกุล
จุฑามณี แสงสว่าง
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการจัดสภาพที่อยู่อาศัยของสัตว์ในสวนสัตว์ดุสิต
มหาวิทยาลัยมหิดล
นาฎสุดา ภูมิจำนงค์;ศันสนีย์ ชูแวว;สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์
ปรัชวนี กรอิสรานุกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
วิธีการสมมติเหตุการณ์ให้ประเมินมูลค่าความเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงในพื้นที่ชุ่มน้ำบึงละหาน จ.ชัยภูมิ
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว;เรณู สุขารมณ์;อาทิตย์ มานะสนธิ;วัฒนะ ลีลาภัทร
นันทวรรณ ประภามณฑล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์การสำรวจจากระยะไกลและระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการจำแนกและจัดทำแผนที่พื้นที่ชุ่มน้ำ บริเวณทุ่งกุลาร้องไห้
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว;วันชัย จันทร์ฉาย;สุวิทย์ อ๋องสมหวัง;พิชัย วิชัยดิษฐ์;มนู โอมะคุปต์
พนาวัลย์ จันทร์สระคู
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประเมินมูลค่าทางการเงินของบึงมักกะสันในด้านการรองรับปริมาณน้ำและปรับปรุงคุณภาพน้ำ ‪(บีโอดี)‬
มหาวิทยาลัยมหิดล
สยาม อรุณศรีมรกต;กอบแก้ว มโนมัยพิบูลย์;ศันสนีย์ ชูแวว;สุวลักษณ์ สาธุมนัสพันธุ์
สุรชน กัณวิจิตร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของดินในนาข้าวเนื่องจากการเปลี่ยนจากระบบเกษตรกรรมเคมีมาเป็นระบบเกษตรกรรมธรรมชาติ
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว;อนุชาติ พวงสำลี;พิชัย วิชัยดิษฐ์
พีรพัฒน์ โกศลศักดิ์สกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นของชาวประมงพื้นบ้านและชาวประมงอวนรุน ต่อสิทธิประมงชายฝั่ง : กรณีศึกษา จังหวัดสุราษฎร์ธานี
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิสิฐ ศุกรียพงศ์;ศันสนีย์ ชูแวว;อาทิตย์ นามะสนธิ
เมธี จันทโรปกรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การลดลงของพื้นที่ป่าไม้กับการแพร่กระจายของเกลือบนผิวดินในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : กรณีศึกษาอำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว;ปิยะกาญจน์ เที้ยธิทรัพย์;พิชัย วิชัยดิษฐ์
สุเนตร ทวีถาวรสวัสดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวางแผนการผลิตพืชฤดูแล้งภายใต้เงื่อนไขการขาดแคลนน้ำกรณีศึกษา : พื้นที่โครงการสูบน้ำด้วยไฟฟ้าสถานีบ้านหัวดาน อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว
สุเทพ แตงทรัพย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความหลากหลายของแพลงค์ตอนพืชในพื้นที่สภาพแวดล้อมต่างกันบริเวณแหลมผักเบี้ย อำเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว
ชัยศักดิ์ รินเกลื่อน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาลักษณะการกระจายและสภาพแวดล้อมทางกายภาพของโป่งดินในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว
นพรัตน์ นาคสถิตย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาและจัดทำระบบสารสนเทศเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน กรณีศึกษา : โรงพยาบาลรามาธิบดี
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว
สมเกียรติ วรประวัติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการจัดการน้ำในไร่นาเขตเกษตรน้ำฝนกรณีศึกษาสระน้ำในไร่นาเกษตรผสมผสาน อ.เมือง จ.สุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศันสนีย์ ชูแวว;วรรณวิภา ปสันธนาทร;กัมปนาท ภักดีกุล;พงศ์พิศน์ ปิยะพงศ์;เกษม กุลประดิษฐ์
สุธีร์ สุนิตย์สกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาความสัมพันธ์ของประเภทและขนาดของแหล่งน้ำกับผลผลิตปลา
มหาวิทยาลัยมหิดล
ไมตรี ดวงสวัสดิ์;อาทิตย์ นามะสนธิ;ศันสนีย์ ชูแวว
สุชาดา บุญภักดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาเว็บเพจเรื่อง พื้นที่ชุ่มน้ำบึงบอระเพ็ด
มหาวิทยาลัยมหิดล
วราพร ศรีสุพรรณ;ศันสนีย์ ชูแวว;ลินดา วงศานุพัทธ์
นพรัตน์ รัตนพงศ์ผาสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างหลักสูตรฝึกอบรมเรื่องการอนุรักษ์เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งสำหรับครูอาจารย์จังหวัดอุทัยธานี
มหาวิทยาลัยมหิดล
รัชชานนท์ ศุภพงศ์พิเชฐ;ประกายรัตน์ สุขุมาลชาติ;ศันสนีย์ ชูแวว
เยี่ยมนภา พลเยี่ยมd2511-
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 6
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,678
รวม 2,684 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 243,317 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 620 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 488 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 73 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 56 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 9 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 2 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 1 ครั้ง
รวม 244,571 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48