แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

The effect of breastfeeding-promoting program on successful breastfeeding before discharge in mothers with cesarean section
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ต่อความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลในมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง

LCSH: Breastfeeding
LCSH: Breastfeeding promotion -- Thailand
LCSH: Cesarean section
LCSH: Mothers -- Health and hygiene
Abstract: This quasi-experimental research was designed to study the effect of a breastfeeding-promoting program on success in breastfeeding before discharge in mothers with cesarean section. The research approval was granted by the Committee on Human Rights Related to Human Experimentation of Mahidol University. Inclusion criteria were used to recruit 60 primigravida, pregnant women with 36-37 weeks of gestation who had been diagnosed for cesarean section at Bangkok Christian Hospital. They were divided into 30 cases in the control group and 30 cases in the experimental group. The control group received only routine nursing care. The experimental group received routine nursing care with a breastfeeding-promoting program. The program consisted of dissemination of knowledge about breastfeeding and health practice after cesarean section, demonstration and practice, provision of a handbook, and provision of assistance and support after undergoing a cesarean section. The researcher thoroughly studied the control group first, then studied the experimental group. Labor and delivery records, The LATCH breastfeeding charting system tool, and breastfeeding records were used to collect data. In this experiment, successful breastfeeding was defined by a Latch Score of 9 or above on a scale of 0-10. Data were analyzed by t-test and chi-square. The results revealed that the sample in the experimental group was more successful in breastfeeding before discharge than those in the control group, at a statistically significant level (p< .05). The mothers who were in the experimental group tended to be 14 times more successful in breastfeeding than those in the control group (95% CI = 3.79-54.72). The results indicate that the breastfeeding-promoting program is effective in enhancing breastfeeding success in mothers with cesarean section before discharge. Further study should be carried out to compare the length of exclusive breastfeeding between the groups at 1, 3, 6 month of infants age in order to see whether this success is of a continuing nature.
Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ต่อความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลในมารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอด ทางหน้าท้อง โครงการวิจัยได้รับการรับรองจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเกี่ยวกับการทดลองในมนุษย์ ของมหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงตั้งครรภ์ที่กำลังจะให้กำเนิดบุตรคนแรก อายุครรภ์ 36-37 สัปดาห์เมื่อเริ่มทำการศึกษา ฝากครรภ์และได้รับการวินิจฉัยให้คลอดโดยวิธีการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องที่ โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน เลือกกลุ่มตัวอย่างตามเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 60 รายแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 30 ราย กลุ่มทดลอง 30 ราย กลุ่มควบคุมได้รับการดูแลตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับการดูแลตามปกติร่วมกับเข้า ร่วมโปรแกรมส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ซึ่งประกอบด้วย การให้ความรู้เกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการปฏิบัติตนภายหลังผ่าตัดคลอดเพื่อให้นมบุตร การสาธิตและฝึกปฏิบัติ การมอบคู่มือการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ และการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนในระยะหลังคลอด เมื่อศึกษาในกลุ่มควบคุมครบตามจำนวน แล้วจึงเริ่มศึกษาในกลุ่มทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบบันทึกข้อมูลการคลอดและการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ แบบประเมินประสิทธิภาพการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (LATCH SCORE) และแบบบันทึกติดตามการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ หมายถึง มารดาที่ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง มีคะแนน LATCH SCORE 9 คะแนนขึ้นไป จากช่วงคะแนน 0-10 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบค่าที และการทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า มารดาในกลุ่มทดลองมีสัดส่วนของผู้ที่ประสบความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล มากกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< .05) โดยมารดา ที่อยู่ในกลุ่มทดลองมีโอกาสประสบความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ก่อนจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล เป็น 14 เท่าของมารดาที่อยู่ในกลุ่มควบคุม (95% CI = 3.79-54.72) ผลการศึกษาเสนอแนะว่าโปรแกรมส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่นี้มีประสิทธิภาพที่พยาบาล สามารถนำไปใช้ได้จริง และควรศึกษาเปรียบเทียบระยะเวลาการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวเมื่อทารกอายุ 1 เดือน 3 เดือน และ 6 เดือน
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2007
Modified: 2553-06-21
Issued: 2010-06-11
CallNumber: TH Y94e 2007
eng
©copyrights
RightsAccess:
ใช้เวลา
0.017032 วินาที

Yubha Temeeteerakul
Title Contributor Type
The effect of breastfeeding-promoting program on successful breastfeeding before discharge in mothers with cesarean section
มหาวิทยาลัยมหิดล
Yubha Temeeteerakul
Nittaya Sinsuksai
วิทยานิพนธ์/Thesis
Nittaya Sinsuksai
Title Creator Type and Date Create
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,969
รวม 2,969 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.149