แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ลักษณะงาน ความโกรธและความอ่อนล้าทางอารมณ์ที่มีผลต่อความสามารถในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
Job characteristics, anger, and emotional exhaustion related to work ability among professional nurses in general hospitals under the ministry of public health

ThaSH: ความโกรธ
ThaSH: ความล้า
ThaSH: สมรรถภาพในการทำงาน
Abstract: การพยาบาลวิชาชีพควรมีความสามารถในการทำงานอยู่ในระดับที่ดีเพื่อสนับสนุนคุณภาพการทำงานให้เพิ่มขึ้น ปัจจัยหลายประการซึ่งส่งเสริมความสามารถในการทำงาน การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของลักษณะงาน ความโกรธ ความอ่อนล้าทางอารมณ์ที่มีผลต่อความสามารถในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 878 คน ในระหว่างเดือนกันยายน-เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2549 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา 1ใน3มีอายุในช่วง 31-40 ปี(ร้อยละ 37.7)โดยเฉลี่ยมีอายุ 35.61 ปี (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน=7.64) มีประสบการณ์การทำงานเฉลี่ย 13.38ปี มากกว่าครึ่งปฏิบัติงานวันละ 8 ชั่วโมง (ร้อยละ 55.9) ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยศัลยกรรมมากที่สุด (ร้อยละ19.6) ความสามารถในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี ถึงร้อยละ 55.6 แต่ก็ยังมีที่อยู่ในระดับต่ำร้อยละ2.2 ซึ่งความสามารถในการทำงานมีความสัมพันธ์ทางลบกับความอ่อนล้าทางอารมณ์ (r=-.38) กับ ความโกรธแบบสภาวะ (state-anger) (r= -.38) นอกจากนี้ชั่วโมงการทำงานที่มากกว่า 9 ชั่วโมง/วันจะมีความสามารถในการทำงานระดับต่ำ ถึงร้อยละ 57.9 ในขณะที่ความอ่อนล้าทางอารมณ์อธิบายความแปรปรวนของความสามารถในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพได้ดีที่สุด และร่วมกับความโกรธสามารถทำนายความสามารถในการทำงานของพยาบาลได้ร้อยละ 18.5 จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรปรับปรุงความสามารถในการทำงานของพยาบาล โดยการพัฒนาวุฒิภาวะทางอารมณ์ และลดชั่วโมงการทำงานไม่ให้เกิน 8 ชั่วโมง เพื่อเพิ่มศักยภาพและคุณภาพในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ"
Abstract: Nursing professionals should have good work ability in order to increasingly promote service quality. Although several factors influence work ability, this study was conducted to examine the relationship between job characteristics, anger, emotional exhaustion and work ability among 878 registered nurses recruited from 10 general hospitals under the Ministry of Public Health, covering 5 regions in Thailand. Each nurse was asked to fill in a questionnaire. Data were collected during September to November, 2006. Statistical analysis included descriptive analysis, Pearson product moment correlation, and multiple regression analysis. One-third of the nurses were aged between 31-40 years old (37.7%), with an average age of 35.6 years (SD=7.64), and average duration of work experience of 13.38 years (SD=7.72). More than half (55.9%) reported working less than 8 hours/day. One- fifth of nurses worked in surgical departments (19.6%). More than half of the professional nurses (55.6%) reported good work ability; however, 2.2% perceived low work ability. Work ability had a negative correlation with emotional exhaustion (r=-.38), and states of anger (r= -.38), with p-value<0.05. About three-fifths of the subjects (57.9%) worked more than 9 hours per day. By using multiple regression analysis, 18.8% of variance was explained for professional nurses’ working ability. These findings suggest that the work ability of nurses should be improved by developing emotional quotient, reducing working hours (not more than 8 hours/day) and increasing their competence and to quality of nursing practice
มหาวิทยาลัยมหิดล
Address: นครปฐม
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Created: 2550
Modified: 2564-08-07
Issued: 2553-06-11
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: วพ ก173ล 2550
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยมหิดล
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4637650.pdf 1.25 MB345 2024-01-11 22:19:05
ใช้เวลา
-0.741667 วินาที

พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ
Title Creator Type and Date Create
ประเมินการจัดหน่วยพยาบาลในโรงงานอุตสาหกรรม : กรณีศึกษาโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ
จรียา ยมศรีเคน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ลักษณะงาน ความโกรธและความอ่อนล้าทางอารมณ์ที่มีผลต่อความสามารถในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ
กรรณิการ์ คูประสิทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเสี่ยง ความสามารถในการปฏิบัติงาน กับความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในศูนย์สุขภาพชุมชนเขต 4
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ
พรทิพย์ พึ่งศักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลกระทบของความรุนแรงจากเหตุการณ์ความไม่สงบและการรับรู้ความเสี่ยงจากการทำงานที่มีต่อผลการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในงานอนามัยโรงเรียนในเขต 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ
ณัฐวี ปานมาก
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยคัดสรรที่มีผลต่อพฤติกรรมการเสพย์ยาบ้ากลับซ้ำของนักเรียนที่เข้ารับการรักษา : ศึกษาเฉพาะกรณีโรงพยาบาลธัญญารักษ์ จังหวัดปทุมธานี
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ;ศิริสุข ยืนหาญ;ดุสิต สุจิรารัตน์
โยธิน ปอยสูงเนิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การให้บริการพยาบาลแก่ผู้ต้องขังป่วยกรณีศึกษาการเคารพสิทธิผู้ป่วย ณ ทัณฑสถานโรงพยาบาลราชทัณฑ์
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ;ดุสิต สุจิรารัตน์;จอน เลอวิทย์วรพงศ์
วิกร สุวรรณโณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษารูปแบบการบริการพยาบาลของงานบริการผู้ป่วยอุบัติเหตุและฉุกเฉินในเชิงโครงสร้าง กระบวนการ และผลลัพธ์ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลสระบุรี
มหาวิทยาลัยมหิดล
วรัตมา สุขวัฒนานันท์;พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ
ผกามาศ ลฆุภาพ
วิทยานิพนธ์/Thesis
คุณลักษณะส่วนบุคคล พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ การสนับสนุนและเครือข่ายทางสังคมที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพผู้สูงอายุพิการ จังหวัดสุพรรณบุรี
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ;ศศิพัฒน์ ยอดเพชร;ปรารถนา สถิตย์วิภาวี
ขวัญสุภา วงษ์บา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยคัดสรรลักษณะส่วนบุคคลการรับรู้เกี่ยวกับสภาวะสุขภาพและการรับรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงานที่มีผลต่อความเหนื่อยหน่ายในการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ : กรณีศึกษาพยาบาลวิชาชีพในห้องผ่าตัดใหญ่ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ในเขตกรุง
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ;จารุวรรณ เหมะธร;ปรารถนา สถิตย์วิภาวี
เบญจมาศ หล่อสุวรรณกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
เปรียบเทียบผลของการนวดไทยประยุกต์กับการใช้ยาพาราเซตามอลในบุคคลที่มีอาการปวดศีรษะเนื่องจากความเครียด
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ;มัณฑนา วงศ์ศิรินวรัตน์
เรณู มีชนะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความพึงพอใจของอาจารย์ที่มีต่อการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในวิทยาลัยเครือข่ายภาคกลาง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศุภวัลย์ พลายน้อย;พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ
สินีนุช เสนีวงศ์ ณ อยุธยา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความตั้งใจในการประกอบอาชีพเมื่อสิ้นสุดสัญญาการใช้ทุนของพยาบาลสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหิดล
ศุภวัลย์ พลายน้อย;ชื่นชม เจริญยุทธ;พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ
จริยาพันธ์ ฤทธินนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาความคิดเห็นของพยาบาลวิชาชีพเกี่ยวกับสภาพการใช้และความต้องการข้อมูลข่าวสารด้านประชากรเพื่อการพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
มหาวิทยาลัยมหิดล
ฉลอง บุญญานันต์;พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ;กุลยา ตันติผลาชีวะ
จำเป็นศรี คันธวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพของครอบครัว : กรณีศึกษาผู้รับงานดัดเหล็กเส้นไปทำที่บ้าน
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ;เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์;ปรารถนา สถิตย์วิภาวี
สุดา หันกลาง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการดูแลรักษาโรคต้อหินเพื่อควบคุมระดับความดันลูกตาของผู้สูงอายุ
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ;ปรารถนา สถิตย์วิภาวี;นริศ กิจณรงค์
เรวดี สุราทะโก
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 20
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,719
รวม 2,739 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 65,006 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 71 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 26 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 9 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 4 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 65,119 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48