แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Reliability of cephalometric measurements : a comparison of digital image input techniques ‪(scanner vs digital camera)‬
ความน่าเชื่อถือในการวัดค่าภาพรังสีกะโหลกศรีษะด้านข้าง : การเปรียบเทียบเทคนิคในการนำภาพเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ ‪(การใช้เครื่องสแกนเนอร์ และการใช้กล้องถ่ายภาพรังสี)‬

LCSH: Radiography, Medical -- Digital techniques
MeSH: Imaging, Three-Dimensional
MeSH: Radiographic Image Enhancement
Abstract: Digital cameras have been used widely for intraoral photography. Advances in computer sciences have led to their wide application of digital radiologic imaging techniques to cephalometric assessment of the craniofacial skeleton. Recently, computer-aided cephalometric analysis is performed by digitization of a tracing, digitization of the radiograph or on-screen digitization of scanned radiographic image. No previous study has reported the use of digital cameras to capture a radiographic image. Therefore, the purpose of this study was to explore the reliability of cephalometric measurements by comparing 4 computerized methods (3 utilizing direct on-screen digitization of the radiographic image captured by 3 digital cameras and 1 utilizing direct on-screen digitization of the radiograph image captured by a scanner) with the traditional manual method of tracing. Forty lateral skull radiographs were photographed by 3 digital cameras, scanned by a scanner and traced by hand. Thirtyfour cephalometric measurements (Mahidol Analysis) were conducted by a computerized cephalometric analysis program (Ceph Smile plus version 2.0.1) and manual method. No statistically significant difference (p<0.05) was found in means of all 34 cephalometric measurements among the 5 methods. When comparing the manual method with the other 4 methods. Most of the mean differences were less than 0.25 mm and 0.25 degrees. Pearson’s correlation also revealed a very high correlation (r>0.8) between manual and 4 computerized methods. It can be concluded that the computerized method (digital camera and scanner) compared favorably with the traditional manual method. The results demonstrate that either a digital camera or a scanner is sufficiently accurate to produce digital images for clinical cephalometric analysis.
Abstract: กล้องดิจิตอลได้ถูกนำ มาใช้ในการถ่ายภาพในช่องปากทางทันตกรรมจัดฟันอย่างแพร่หลาย ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ทำให้เกิดการนำภาพรังสีดิจิตอลมาใช้ประโยชน์ในการ วิเคราะห์โครงสร้างกะโหลกศีรษะและใบหน้า ปัจจุบันมีการใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ภาพถ่าย รังสีกะโหลกศีรษะด้านข้างซึ่งทำได้โดย การดิจิไทซ์ภาพวาดลายเส้นของภาพถ่ายรังสี หรือ ดิจิไทซ์บน ภาพถ่ายรังสีโดยตรง หรือ สแกนภาพถ่ายรังสีให้เป็นภาพดิจิตอลส่งเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์และดิจิไทซ์ บนหน้าจอคอมพิวเตอร์โดยตรง อย่างไรก็ตามยังไม่มีรายงานปรากฏว่ามีการนำกล้องดิจิตอลมาถ่ายรังสี กะโหลกศีรษะและส่งภาพเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างกะโหลกศีรษะและใบหน้า ดังนั้นวัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อประเมินความน่าเชื่อถือของการวัดค่ากะโหลกศีรษะและใบหน้า โดยการเปรียบเทียบวิธีการวัดค่าด้วยคอมพิวเตอร์ 4 วิธี (3วิธีแรกเป็นการดิจิไทซ์ภาพรังสีดิจิตอลซึ่งเกิด จากการถ่ายภาพถ่ายรังสีด้วยกล้องดิจิตอล 3 ชนิด และวิธีที่ 4 เป็นการดิจิไทซ์ภาพรังสีที่เกิดจากการ สแกนภาพรังสีเถ่ายข้าเครื่องคอมพิวเตอร์) และเปรียบเทียบกับการวัดค่าภาพถ่ายรังสีด้วยมือ ภาพรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้างทั้งหมด 40 ภาพ จะถูกถ่ายโดยกล้องดิจิตอล 3ชนิด ถูกสแกนด้วย เครื่องสแกนเนอร์ และถูกวาดภาพลายเส้นด้วยมือ ภาพรังสีดิจิตอลที่เกิดจากกล้องถ่ายภาพและเครื่อง สแกนเนอร์ จะถูกนำเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ และวิเคราะห์วัดค่าโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปที่ใช้ วิเคราะห์ค่าโครงสร้างกะโหลกศีรษะและใบหน้า (โปรแกรมเซฟล์สไมล์พลัสเวอร์ชั่น 2.0.1) ภาพวาด ลายเส้นจะถูกวัดด้วยมือโดยใช้ไม้โปรแทรกเตอร์และดิจิตอลคาลิเปอร์ ค่าที่ใช้ในการวิเคราะห์กะโหลก ศีรษะและใบหน้ามีทั้งหมด 34 ค่า (ค่าวิเคราะห์ของมหิดล) ผลการศึกษาพบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (ที่ระดับนัยสำคัญ0.05) ในค่าเฉลี่ยของ ค่าที่ใช้วัดทั้งหมด 34 ค่าของวิธีทั้ง 5 วิธี เมื่อทำการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของวิธีที่วัดโดยคอมพิวเตอร์แต่ ละวิธีเทียบกับการวัดค่าด้วยมือ พบว่าความแตกต่างของค่าเฉลี่ยส่วนใหญ่มีค่าน้อยกว่า 0.25 มิลลิเมตร และ 0.25 องศา พบว่าค่าสัมประสิทธิ์ของเพียร์สันมีค่าสูง (r > 0.8) เมื่อเปรียบเทียบระหว่างการวัดค่า ด้วยมือและการวัดค่าด้วยคอมพิวเตอร์แต่ละวิธีทั้ง 4 วิธี จึงสามารถสรุปได้ว่า วิธีการวัดค่ากะโหลกศีรษะและใบหน้าด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์(โดยการสร้าง ภาพรังสีดิจิตอลด้วยกล้องดิจิตอลและเครื่องสแกนเนอร์) มีประสิทธิภาพดีเมื่อเปรียบเทียบกับการวัดค่า ด้วยมือ ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่ากล้องดิจิตอลและเครื่องสแกนเนอร์มีความน่าเชื่อถือในการสร้าง ภาพรังสีดิจิตอลสำหรับใช้ในการวิเคราะห์ภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะและใบหน้าในคลินิค
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2006
Modified: 2553-06-25
Issued: 2010-06-08
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: TH L153r 2006
eng
DegreeName: Master of Science
Descipline: Orthodontics
©copyrights Mahidol University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4837967.pdf 3.28 MB17 2023-02-08 16:26:55
ใช้เวลา
-0.76359 วินาที

Lada Shinawatra
Title Contributor Type
Reliability of cephalometric measurements : a comparison of digital image input techniques ‪(scanner vs digital camera)‬
มหาวิทยาลัยมหิดล
Lada Shinawatra
Niwat Anuwongnukroh
วิทยานิพนธ์/Thesis
Niwat Anuwongnukroh
Title Creator Type and Date Create
Mechanical properties of Thai orthodontic elastics
มหาวิทยาลัยมหิดล
Niwat Anuwongnukroh
Chidruthai Boonyanate
วิทยานิพนธ์/Thesis
Reliability of cephalometric measurements : a comparison of digital image input techniques ‪(scanner vs digital camera)‬
มหาวิทยาลัยมหิดล
Niwat Anuwongnukroh
Lada Shinawatra
วิทยานิพนธ์/Thesis
The development of model analyzer in orthodontics
มหาวิทยาลัยมหิดล
Surachai Dechkunakorn;Niwat Anuwongnukroh;Sunprasit Limnararat
Sukit Eimtaveecharern
วิทยานิพนธ์/Thesis
Influence of reduction ratio of cross sectional area in drawing stainless steel wire for orthodontic use
มหาวิทยาลัยมหิดล
;Niwat Anuwongnukroh;Surachai Dechkunakorn;Pongpan Kaewtatip
Siriwat Chamnunphol
วิทยานิพนธ์/Thesis
Thai orthodontic elastomeric ligatures
มหาวิทยาลัยมหิดล
Surachai Dechkunakorn;Niwat Anuwongnukroh;Pasaree Laokijcharoen
Thammanoon Boonyarangkul
วิทยานิพนธ์/Thesis
A study of polymethyl methacrylate as a substrate for biosensors and dental materials
มหาวิทยาลัยมหิดล
Toemsak Srikhirin;Chinnawut Pipatpanukul;Surachai Dechkunakorn;Niwat Anuwongnukroh
Shrestha, Binit, 1982-
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 57
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,365
รวม 2,422 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 102,095 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 135 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 129 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 25 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 20 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 14 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
รวม 102,422 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180