แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

ความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับผลกระทบของฝุ่นละอองต่อระบบนิเวศน์ในเขตอุตสาหกรรมเหมืองหินปูนและโรงโม่ บด และย่อยหิน : กรณีศึกษาตำบลหน้าพระลาน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี
People's awareness of the effects of dust on the ecological system in the limestone mine and limestone mill areas : a case study of Napralan sub-district, Chalermprakiat district, Saraburi province, Thailand

ThaSH: ความตระหนัก
ThaSH: มลภาวะทางอากาศ
ThaSH: โรงโม่หิน -- ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับผลกระทบของฝุ่นละอองต่อระบบนิเวศน์ในเขตอุตสาหกรรมเหมืองหินปูน และโรงโม่ บด และย่อยหิน ปัจจัยด้านประชากร เศรษฐกิจ และสังคม และปัจจัยด้านจิตวิทยาที่มีอิทธิพลกับความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับผลกระทบของฝุ่นละอองต่อระบบนิเวศน์ในเขตอุตสาหกรรมเหมืองหินปูน และโรงโม่ บด และย่อยหิน และ ศึกษาพฤติกรรมการป้องกันฝุ่นละออง และข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองของประชาชน โดยประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ประชาชนในเขตตำบลหน้าพระลาน อำเภอเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสระบุรี จำนวน 350 คน ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติอัตราส่วนร้อย ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มีความตระหนักเกี่ยวกับผลกระทบของฝุ่นละอองต่อระบบนิเวศน์ในเขตอุตสาหกรรมเหมืองหินปูน และโรงโม่ บด และย่อยหินอยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยที่มีอิทธิพลกับตระหนักเกี่ยวกับผลกระทบของฝุ่นละอองต่อระบบนิเวศน์ในเขตอุตสาหกรรมเหมืองหินปูน และ โรงโม่ บด และย่อยหิน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 มี 6 ตัวแปร เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ การรับรู้ปัญหาฝุ่นละออง ความรู้เกี่ยวกับฝุ่นละอองและผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ การให้คุณค่าต่อระบบนิเวศน์ ระยะเวลาที่อยู่อาศัยในชุมชน ประสบการณ์เกี่ยวกับโรคจากฝุ่นละออง และอาชีพมีอิทธิพลเชิงบวกกับความตระหนักเกี่ยวกับผลกระทบของฝุ่นละอองต่อระบบนิเวศน์ ในเขตอุตสาหกรรมเหมืองหินปูน และโรงโม่ บด และย่อยหิน โดยตัวแปรทั้งหมดสามารถพยากรณ์ความตระหนักเกี่ยวกับผลกระทบของฝุ่นละอองต่อระบบนิเวศน์ ได้ร้อยละ 37.20 ในส่วนของพฤติกรรมการป้องกันฝุ่นละอองนั้นประชาชนส่วนใหญ่มีพฤติกรรมในการป้องกันฝุ่นละอองโดยการใช้ผ้าปิดปากและจมูก และปิดประตูหน้าต่าง และหมั่นทำความสะอาดบ้านพักอาศัยอย่างสม่ำเสมอ นอกจากนี้ประชาชนยังได้เสนอข้อเสนอแนะ ในการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองโดยหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องและผู้ประกอบการเหมืองหินปูนและโรงโม่ บด และย่อยหินควรดำเนินการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองอย่างต่อเนื่องและจริงจังโดยให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วม ข้อเสนอแนะจากการวิจัย คือ ภาครัฐควรจะดำเนินการประชาสัมพันธ์และเสริมสร้างความรู้ให้แก่ประชาชนอย่างสม่ำเสมอโดยให้ความรู้ทั้งในด้านผลกระทบของฝุ่นละอองที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และผลกระทบต่อมนุษย์ในด้านสุขภาพ ตลอดจนวิธีการป้องกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นเพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักในเรื่องผลกระทบจากปัญหาสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้น
Abstract: This study investigated levels of people’s awareness of the effects of dust on the ecological system in the limestone mine and limestone mill areas. It also investigated the economic, social and psychological factors influencing people’s awareness of the effects of dust on the ecological system in the limestone mine and limestone mill areas. Their behavior related to preventing dust and their recommendations for solving this problem were also studied. The study group comprised 350 people living at Napralan Sub-District Chalermprakiat District, Saraburi Province. Questionnaires were used in data collection. Percentage, mean, standard deviation and Multiple Regression Analysis were conducted. It was found that the majority of people had moderate awareness of the effects of dust on the ecological system in the limestone mine and limestone mill areas. Six factors had a positive influence on awareness of these effects. These factors were perception of dust problems; knowledge of dust and its effects on the ecological system; value attributed to the ecological system; duration of residence in community; experience of diseases caused by dust and occupation. These variables predicted the awareness of dust effects on the ecological system at a confidence level of 37.20%. To prevent dust adversely affecting their health, most people used cloth to cover their mouths and noses; closed doors and windows and regularly cleaned their residences. They recommended that the government department involved and the limestone entrepreneurs, should seriously and persistently attempt to solve dust problems with participation from the public. It was recommended that the government sectors should regularly launch public relations programs; upgrade people’s knowledge about the effects of dust on local natural resources, and human health, and adopt preventive methods regarding the effects of dust .
มหาวิทยาลัยมหิดล
Address: นครปฐม
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Created: 2550
Modified: 2564-08-03
Issued: 2553-06-08
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: วพ ร329ค 2550
tha
Spatial: สระบุรี
©copyrights มหาวิทยาลัยมหิดล
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4737810.pdf 1.74 MB548 2024-11-21 10:24:31
ใช้เวลา
0.273537 วินาที

ปุสตี มอนซอน
Title Creator Type and Date Create
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่าชุมชนศึกษากรณีบ้านป่าลัน ตำบลบงน้อย อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปุสตี มอนซอน;เบญจา ยอดดำเนิน-แอ็ตติกจ์;ธรรมธร ธรรมสโรช
ไพจิตร ไตรวงค์ย้อย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์เชิงนิเวศวิทยาวัฒนธรรมเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์ : กรณีศึกษาชุมชนมอญเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
มหาวิทยาลัยมหิดล
ธวัชชัย บุญโชติ;ปุสตี มอนซอน;วรรณวิภา ปสันธนาทร
สมศรี ศิริขวัญชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
วัดกับการดำรงอยู่ของงานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน
มหาวิทยาลัยมหิดล
ธวัชชัย บุญโชติ;ปุสตี มอนซอน
นิสาพร วัฒนศัพท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความตระหนักของประชาชนเกี่ยวกับผลกระทบของฝุ่นละอองต่อระบบนิเวศน์ในเขตอุตสาหกรรมเหมืองหินปูนและโรงโม่ บด และย่อยหิน : กรณีศึกษาตำบลหน้าพระลาน อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปุสตี มอนซอน
รัชฎาภรณ์ เจริญพร้อม
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการเรียนรู้ในการจัดการขยะของโรงเรียน : กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านกิโลสาม ตำบลท่าแยก อำเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปุสตี มอนซอน
น้องนุช เก้าลิ้ม
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลในการจัดการมูลฝอยและน้ำเสีย : กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิสิฐ ศุกรียพงศ์;ปุสตี มอนซอน;ประกายรัตน์ สุขุมาลชาติ
วรรณา ยังเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการจัดการแหล่งท่องเที่ยวตามหลักการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ กรณีศึกษา : วนอุทยานภูชี้ฟ้า จังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัยมหิดล
ลัดดาวัลย์ ทองนพ;ปุสตี มอนซอน;สัญชัย สูติพันธ์วิหาร
นิพล เชื้อเมืองพาน
วิทยานิพนธ์/Thesis
วิวัฒนาการแหล่งท่องเที่ยว : กรณีเกาะช้าง จังหวัดตราด
มหาวิทยาลัยมหิดล
ธวัชชัย บุญโชติ;ปุสตี มอนซอน
โศรยา สิ่งชูวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีผลต่อการบริโภคอาหารชีวจิตของประชาชนในกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยมหิดล
พิสิฐ ศุกรียพงศ์;ประกายรัตน์ สุขุมาลชาติ;ปุสตี มอนซอน
มนทิรา รัชตะสมบูรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
วัฒนธรรมชุมชนในฐานะที่เป็นทรัพยากรการท่องเที่ยว : ศึกษากรณีแหล่งโบราณคดีบ้านปราสาท ตำบลธารปราสาท อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยมหิดล
ธวัชชัย บุญโชติ;ปุสตี มอนซอน
สุชาดา รัตนภูมิพงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการน้ำจากอ่างเก็บน้ำแม่ยาว บ้านลุ่มกลาง ตำบลแม่สัน อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง
มหาวิทยาลัยมหิดล
ธวัชชัย บุญโชติ;ปุสตี มอนซอน;วรรณวิภา ปสันธนาทร
พิมพรรณ พันธ์ศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการยอมรับนวัตกรรมทางหลักสูตรและการสอนกรณีศึกษา : อำเภอพยุหะคีรีและอำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปุสตี มอนซอน;ธวัชชัย บุญโชติ
ยุภาพักตร์ จันทร์เขียว
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัญหาการเลี้ยงช้างบ้านและการจัดการปัญหาของคนเลี้ยงช้างชาวกวยจังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
ธวัชชัย บุญโชติ;ปุสตี มอนซอน;วรรณวิภา ปสันธนาทร
สิริมา เจริญภัทรเภสัช
วิทยานิพนธ์/Thesis
ค่านิยมของเกษตรกรที่ทำเกษตรกรรมแบบยั่งยืน : เปรียบเทียบระหว่างเกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมจากหน่วยงานของรัฐและองค์กรพัฒนาเอกชนในอำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
ธวัชชัย บุญโชติ;ปุสตี มอนซอน;อนุชาติ พวงสำลี
ปิยะฉัตร มาลีถาวรกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
สาเหตุและพฤติกรรมการเสพยาอี : ศึกษาเฉพาะกรณีกลุ่มผู้เสพยาอี
มหาวิทยาลัยมหิดล
กมลทิพย์ คติการ;ปุสตี มอนซอน;เฉลิมศรี ธรรมบุตร
ศิริโรจน์ รัฐประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขระดับตำบลในการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม ศึกษากรณี จังหวัดพิจิตร
มหาวิทยาลัยมหิดล
พรรณิภา บูรพาชีพ;ปุสตี มอนซอน;ชุติมา แสงเงิน;ยรรยงศ์ อัมพวา
สุนีย์ สุขสว่าง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การสร้างและทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมสิ่งแวดล้อมศึกษาเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรชายฝั่งทะเลสำหรับครูระดับมัธยมศึกษาตอนต้นศึกษาเฉพาะกรณีจังหวัดระยอง
มหาวิทยาลัยมหิดล
เต็มดวง รัตนทัศนีย;ศักดา ศุภพงศ์พิเชฐ;ปุสตี มอนซอน
โสภิดา พัฒนาภรณ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
พฤติกรรมการปฏิบัติตามกฏหมายเกี่ยวกับมลพิษทางอากาศและเสียงของผู้ขับขี่รถบรรทุกในเขตกรุงเทพมหานคร
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปุสตี มอนซอน;ธวัชชัย อาทรธุระสุข;วิลาสินี วงศ์ประเสริฐ
ชลลดา นาเกษมสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การยอมรับการใช้เครื่องป้องกันอันตรายจากเสียงในการทำงานของคนงาน โรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ : กรณีศึกษาอำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปุสตี มอนซอน;วิลาสินี วงศ์ประเสริฐ;จิราพร จักรไพวงศ์
วุฒิไกร บัวผัน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความรู้และความตระหนักของผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ในกรุงเทพมหานครที่มีต่อมลพิษทางเสียง
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปุสตี มอนซอน;ธวัชชัย อาทรธุระสุข;กมลทิพย์ คติการ
วีณา ลอยกุลนันท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
วัฒนธรรมความเชื่อของหมู่บ้านอีสานในการอนุรักษ์ป่าชุมชนกรณีศึกษาหมู่บ้านในอำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
มหาวิทยาลัยมหิดล
ปุสตี มอนซอน;ธวัชชัย บุญโชติ;ชุติมา แสงเงิน
อรทัย ศรีทองธรรม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การอนุรักษ์ป่าชุมชนแนวพุทธ : กรณีศึกษาวัดป่าบ้านชาด ตำบลนาคู กิ่งอำเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์
มหาวิทยาลัยมหิดล
ธวัชชัย บุญโชติ;ปุสตี มอนซอน
พระมหาจำเนียร ผะคังคิว
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความตระหนักของประชาชนท้องถิ่นต่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยมหิดล
ชุติมา แสงเงิน;พรรณิภา บูรพาชีพ;ปุสตี มอนซอน
กำจร วงศ์ประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการพลังงานชุมชนตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษา ชุมชนบ้านบึงตะโกและชุมชนบ้านบึงประเสริฐ ตำบลพลกรัง จังหวัดนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยมหิดล
ชุติมา แสงเงิน;พรรณิภา บูรพาชีพ;ปุสตี มอนซอน
จิตติมา ไพบูลย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 12
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,710
รวม 2,722 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 211,624 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 681 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 551 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 49 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 43 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 24 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 4 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 212,982 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48