แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Application of geographic information system and participation to identify the limestone resource status for development : Ratchaburi province
การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และกระบวนการมีส่วนร่วมในการกำหนดสถานภาพทรัพยากรแหล่งหินปูนเพื่อการพัฒนา : กรณ๊ศึกษาจังหวัดราชบุรี

LCSH: Limestone -- Thailand -- Rachaburi
LCSH: Geographic information systems
Abstract: The purposes of this research were to study the accuracy of the Geographic Information System software in identifying potential for development of limestone resources. The GIS was checked for validity by utilizing public support to gather corresponding data from the field. The first step in the research was to identify potential environmental impact factors in limestone resource development using the GIS. The second step was to study the Analytic Hierarchy Process model by applying the pairwise comparison method with the GIS. The final step was sending local administrators to gather data from the targeted areas for comparison, in order to promote an appropriate and efficient usage of resources leading to basic sustainable resource management. The results of the research encompassed environmental impact factors, questionnaire, data collection, and data analysis. A comparative importance matrix of the eight factors was created from a summary of the data and expert opinion. Pairwise comparison matrix was subsequently computed to reduce the data dimension and to highlight the relative importance of each affecting factor prior to weight extraction. The highest weight was the type of mineral concession (0.188), next was watershed and water (0.170), tourism site and heritage (0.152), transportation (0.130), land use (0.107), forest use (0.106), slope (0.087) and community area (0.061), respectively. The AHP model was applied using GIS processing. This research showed that the most appropriate areas for development measured 354.58 km2 or 33.52% of the total area. Most of the areas are located at Rangbua sub-district of Jombung district in Ratchaburi province or in the central area of the Ratchaburi province. And due to the public participation study by AIC process at Rangbua Sub-district Administrative Organization, the results show that the local administrator supports limestone resource development in the potential areas to realize actual development.
Abstract: งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และกระบวนการมีส่วนร่วมในการ กำหนดสถานภาพทรัพยากรแหล่งหินปูนเพื่อการพัฒนา โดยมีวัตถุประสงค์ข้อแรกเพื่อศึกษาปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มี ผลกระทบต่อการกำหนดสถานภาพแหล่งหินปูน วัตถุประสงค์ข้อที่สองเพื่อศึกษาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ ร่วมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการกำหนดสถานภาพแหล่งหินปูน และวัตถุประสงค์ข้อสุดท้ายคือ การมี ส่วนร่วมระดับท้องถิ่นต่อการกำหนดพื้นที่แหล่งหินปูนเพื่อการพัฒนา เพื่อเป็นแนวทางการจัดการทรัพยากร อย่างยั่งยืนให้สามารถใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างสูงสุด ผลการวิจัยจากการรวบรวมปัจจัยที่ได้รับผลกระทบ พร้อมทั้งสอบถามความคิดเห็นของนักวิชาการ และ ทำการรวมรวมข้อมูลในการวิเคราะห์แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ โดยการแปลงค่าความสัมพันธ์หาค่าน้ำหนัก ความสำคัญเชิงเปรียบเทียบของปัจจัยแต่ละคู่แบบเมทริกซ์ ทั้งหมด 8 ปัจจัย พบว่า ปัจจัยที่มีความสำคัญสูงสุด ได้แก่ พื้นที่อนุญาตประกอบการแหล่งแร่ (0.188) รองลงมาได้แก่ พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้ำและแหล่งน้ำ (0.170), แหล่งท่องเที่ยวและแหล่งสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม (0.152), เส้นทางการคมนาคม (0.130), การใช้ประโยชน์ที่ดิน (0.107), การใช้ประโยชน์ที่ดินป่าไม้ (0.106), ความลาดชันของพื้นที่ (0.087) และพื้นที่แหล่งชุมชน (0.061) เพื่อ นำไปสู่กระบวนการวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการกำหนดสถานภาพแหล่งหินปูน การวิจัยครั้งนี้ แสดงให้เห็นว่า สถานภาพแหล่งหินปูนที่เหมาะสมต่อการพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์ มีพื้นที่ เท่ากับ 354.58 ตร.กม. หรือร้อยละ 33.52 ของพื้นที่ทั้งหมด โดยมีพื้นที่ส่วนใหญ่ในบริเวณตำบลรางบัว อำเภอ จอมบึง จังหวัดราชบุรี ซึ่งเมื่อดำเนินกระบวนการมีส่วนร่วมในระดับท้องถิ่นจากตัวแทนสมาชิกองค์การบริหาร ส่วนตำบลรางบัวด้วยเทคนิค AIC พบว่า ท้องถิ่นมีความต้องการพัฒนาพื้นที่แหล่งหินปูนให้สามารถใช้ประโยชน์ ได้อย่างจริงจัง และเห็นชอบต่อกระบวนการวิเคราะห์ศักยภาพพื้นที่ด้วยวิธีดังกล่าว โดยให้ประชาชนในระดับ ท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเพื่อพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2006
Modified: 2020-04-22
Issued: 2010-05-03
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
ISBN: 9740468705
CallNumber: TH S965a 2006
eng
Spatial: Ratchaburi
DegreeName: Master of Science
©copyrights Mahidol University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4536464.pdf 4.48 MB73 2024-08-07 11:47:24
ใช้เวลา
0.311171 วินาที

Sutida Piamviriyawong
Title Contributor Type
Application of geographic information system and participation to identify the limestone resource status for development : Ratchaburi province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sutida Piamviriyawong
Piyakarn Teartisup
วิทยานิพนธ์/Thesis
Piyakarn Teartisup
Title Creator Type and Date Create
Forest land use change by agricultural area in lower and middle Mae Taeng Watershed Changwat Chiang Mai
มหาวิทยาลัยมหิดล
Piyakarn Teartisup
Suppagunya Wicheinsri
วิทยานิพนธ์/Thesis
Application of geographic information system and participation to identify the limestone resource status for development : Ratchaburi province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Piyakarn Teartisup
Sutida Piamviriyawong
วิทยานิพนธ์/Thesis
An appropriate guideline for limestone usage relating with local community : a case study at Khao Wong-Na-Phra-Lan area, Saraburi province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Piyakarn Teartisup
Pennapa Kongtansarasit
วิทยานิพนธ์/Thesis
An application of geoinformatics to study the effects of land use changes on stream flow :
มหาวิทยาลัยมหิดล
Piyakarn Teartisup
Thura Win Htun
วิทยานิพนธ์/Thesis
Model of knowledge-based management on medicinal plant utilization for the western biodiversity center Thailand
มหาวิทยาลัยมหิดล
Piyakarn Teartisup
Bajaree Saguanwongse
วิทยานิพนธ์/Thesis
Wetland Tourism management at Don Hoi Lot (Ramsar Site) Samut Songkhram province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Piyakarn Teartisup
Pisanee Kopolratana
วิทยานิพนธ์/Thesis
Influence of biogeography characteristics on Monkey Pot (Nepenthes spp) use and conservation at Nongchaiwan wetland Srisongkram district Nakhon Panom province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Piyakarn Teartisup
Acharaporn Sringam
วิทยานิพนธ์/Thesis
Estimation of reservoir sedimentation using remote sensing
มหาวิทยาลัยมหิดล
Piyakarn Teartisup
Pornsiri Khanayai
วิทยานิพนธ์/Thesis
Structure of tourism and tourism activities in wetland area (riverine) : case studies of Talingchan, Bangkok and Thaka floating markets, Samutsongkram
มหาวิทยาลัยมหิดล
Piyakarn Teartisup;Prapeut Kerdsueb
Phornphan Srikhatthanaprom
วิทยานิพนธ์/Thesis
Information system for supporting foot and mouth disease control stategies in livestock
มหาวิทยาลัยมหิดล
Prapeut Kerdsueb;Piyakarn Teartisup;Wantanee Kalpravidh
Phuripoj Kaewyong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Household food security : 10 years after the opening of Rasi Salai dam gate
มหาวิทยาลัยมหิดล
;Kulvadee Kansantisukmongkol;Sansanee Choowaew;Piyakarn Teartisup
Paweena Saritnirun
วิทยานิพนธ์/Thesis
Fruit tree biodiversity, wisdom, and factors affecting conservation : a case study of fruit orchards in Samut Songkhram Province
มหาวิทยาลัยมหิดล
;Kulvadee Kansuntisukmongkol;Piyakarn Teartisup
Dalin Phunbamphen
วิทยานิพนธ์/Thesis
Freshwater wetland detection by remote sensing in Phetchaburi basin
มหาวิทยาลัยมหิดล
Prapeut Kerdsueb;Piyakarn Teartisup
Netnapa Sansroi
วิทยานิพนธ์/Thesis
Coastal wetland detection by remote sensing in Phetchaburi Basin
มหาวิทยาลัยมหิดล
Prapeut Kerdsueb;Piyakarn Teartisup
Waranyoo Bunmak
วิทยานิพนธ์/Thesis
Natural interpretation patterns for youth on natural trail study : Srinakarin National Park, Kanchanaburi province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Prapeut Kerdsueb;Piyakarn Teartisup
Suwimon Senanok
วิทยานิพนธ์/Thesis
Image enhancement and transformation techniques for detection of wetlands using landsat TM data
มหาวิทยาลัยมหิดล
Prapeut Kerdsueb;Piyakarn Teartisup
Wannipa Sadtipong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors affecting community paradigms for eastern sarus cranes reintroduction at Huai Jorakaemak non-hunting area, Buri Ram province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Piyakarn Teartisup;Suwalee Worakhunpiset
Anavin Suwanna
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 1
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 271
รวม 272 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 97,008 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 41 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 20 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
รวม 97,071 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48