แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Alkyd resins from waste cooking oil
อัลคีดเรซินจากน้ำมันประกอบอาหารที่ใช้แล้ว

LCSH: Alkyd resins
LCSH: Alcoholysis
LCSH: Oils and fats, Edible
Abstract: The purpose of this research was to prepare oil-modified alkyd resins using an alcoholysis process. Waste cooking oil as monobasic acid, glycerol as polyhydric alcohol, phthalic anhydride as dibasic acid and a mixture of NaOH, H2O and glycerol as the catalyst were used. Important properties of oil such as acid value, iodine value and composition of fatty acids were investigated. The reaction trend was also studied at various times from the acid value of the mixture. Functional groups of the reactants and products were analyzed using FT-IR spectroscopy. The important properties such as acid value, viscosity and non-volatile matter were characterized by a standard method. The results were compared with alkyd resins from palm olein oil which use TISI 618-2529 (1986) as the standard for selecting suitable conditions. In addition, all data were statistically analyzed by 2 independent samples tests; Mann-Whitney Tests, at a 95% confidence interval. Based on the results received, it can be concluded that waste cooking oil can be utilized as a raw material for alkyd resin production. The optimum condition was at 35%w/w oil with the reaction time of 160 min. These alkyd resins have a acid value, viscosity and non-volatile matter of 13.28 mg.KOH/g., 17.60 stoke and 59.05 %w/w, respectively. For alkyd resins from palm olein oil, they have an optimum condition at 35 %w/w oil, with 100 min. of reaction time. These alkyd resins have acid value, viscosity and non-volatile matter of 11.25 mg.KOH/g., 17.60 and 59.17 %w/w, respectively. Although alkyd resins from waste cooking oil (AR_WCO) used more reaction time than alkyd resins from palm olein oil (AR_PO), AR_WCO is more friendly environmentally than AR_PO because it is recycled waste. Therefore, it is reasonable to assume that waste cooking oil is a considerably better alternative for oil-modified alkyd resin production.
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงวิธีเตรียมออยล์โมดิไฟด์อัลคีดเรซินจากกรรมวิธี แอลกอฮอล์ไลซิส โดยมีน้ำมันประกอบอาหารที่ใช้แล้วเป็นกรดโมโนเบสิก กลีเซอรอลเป็น โพลิไฮดริกแอลกอฮอล์ พทาลิกแอนไฮไดรด์เป็นกรดไดเบสิก และมีของผสมระหว่างโซเดียม ไฮดรอกไซด์ น้ำ และกลีเซอรอลเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา โดยได้ศึกษาถึงสมบัติต่างๆ ที่สำคัญของ น้ำมัน ได้แก่ ค่าของกรด ค่าไอโอดีน ชนิดและปริมาณของกรดไขมัน และได้ศึกษาถึงแนวโน้ม ของการเกิดปฏิกิริยาจากค่าของกรดของของผสม ณ เวลาต่างๆ และนำอัลคีดเรซินที่เตรียมได้มา วิเคราะห์หาหมู่ที่แสดงสมบัติเฉพาะตัว และสมบัติต่างๆ ได้แก่ ค่าของกรด ความหนืด และ ปริมาณสารที่ไม่ระเหย จากนั้นเปรียบเทียบผลที่ได้กับอัลคีดเรซินที่เตรียมจากน้ำมันประกอบ อาหารที่ยังไม่ผ่านการใช้งาน โดยอาศัยมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมสารยึดสำหรับสีและ วาร์นิช:อัลคีดเรซิน (มอก.618-2529) เป็นเกณฑ์ในการกำหนดสภาวะที่เหมาะสม สำหรับการ วิเคราะห์ข้อมูลใช้ Two Independent Samples Tests; Mann-Whitney Test ที่ระดับความ เชื่อมั่น ร้อยละ 95 จากผลการทดลองสรุปได้ว่า น้ำมันประกอบอาหารที่ใช้แล้วสามารถนำมาใช้เป็น วัตถุดิบในกระบวนการผลิตอัลคีดเรซินได้ โดยมีสภาวะที่เหมาะสมคือที่ปริมาณน้ำมัน 35%w/w ระยะเวลาที่ใช้ในการทำปฏิกิริยา 160 นาที อัลคีดเรซินที่เตรียมได้มีค่าของกรด ความหนืดและ ปริมาณสารที่ไม่ระเหยเท่ากับ 13.28 มก.KOH/ก. 17.60 สโตกส์ และ 59.05 %w/w ตามลำดับ ในขณะที่อัลคีดเรซินที่เตรียมได้จากน้ำมันประกอบอาหารที่ยังไม่ผ่านการใช้งาน มีสภาวะที่ เหมาะสมที่ปริมาณน้ำมัน 35%w/w เช่นเดียวกัน แต่มีระยะเวลาในการทำปฏิกิริยาที่ 100 นาที โดยมีค่าของกรด ความหนืดและปริมาณสารที่ไม่ระเหยเท่ากับ 11.25 มกKOH/ก. 17.60 สโตกส์ และ 59.17%w/w ตามลำดับ แม้ว่าอัลคีดเรซินจากน้ำมันประกอบอาหารที่ใช้แล้วจะใช้ระยะเวลา ในการทำปฏิกิริยามากกว่า แต่ก็น่าที่จะส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า เนื่องจากเป็นการนำของ เสียมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ดังนั้น น้ำมันประกอบอาหารที่ใช้แล้วจึงเป็นกรดโมโนเบสิกอีก ทางเลือกหนึ่งในกระบวนการผลิตออยล์โมดิไฟด์อัลคีดเรซิน
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2005
Modified: 2553-06-29
Issued: 2010-05-03
ISBN: 9740467849
CallNumber: TH U15al 2005
eng
DegreeName: Master of Science
©copyrights
RightsAccess:
ใช้เวลา
0.017143 วินาที

Ubolrat Weerawatsophon
Title Contributor Type
Aurapin Eamsiri
Title Creator Type and Date Create
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,353
รวม 2,353 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.149