แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Improvement of adhesion between natural rubber and nitrile rubber by using adhesion promoter compound based on chlorosulfonated polyethylene and chlorinated natural rubber
การปรับปรุงสมบัติการยึดติดระหว่างยางธรรมชาติกับยางไนไตรล์โดยใช้สารเพิ่มการยึดติดที่มียางเอทธิลีนคลอโรซัลฟอเนตและยางธรรมชาติคลอริเนตเป็นส่วนประกอบ

LCSH: Adhesion
LCSH: Rubber
Abstract: Natural Rubber (NR) possesses good dynamic and mechanical properties. However, some of its properties such as oil resistance and weathering resistance are much lower than those of synthetic rubbers. Encasing NR with nitrile rubber (NBR) is one way of combining good properties of the two rubbers. This idea could be applied for various kinds of products, for example, hoses for transportation of oil, bridge bearings, fenders for docks and boats. However, what is required is good adhesion between NR and synthetic rubbers. This project studied the factors influencing the adhesion of NR and NBR. The adhesion promoter compound (APC) was formulated and used in solution and solid form. The role of each component in this compound was studied. The adhesive strength from a T-peel test was found to increase with increasing amounts of the active components (p-benzoquinonedioxime (BQD), N, N′-m-phenylenebismaleimide (HVA-2) and PbO2) in APC. Chlorosulfonated polyethylene (CSPE) and chlorinated natural rubber (CNR) were found to be necessary components and could not be replaced by polychloroprene (CR). In solid form, APC was prepared prior to incorporating it into NR and NBR to study its effectiveness in improving the bonding of NR//NBR. The cohesive failure (peel strength > 104 J/m2) was found with inclusion of APC 40 and 60 phr in NBR. Incorporation of APC in the NR phase caused scorching of the compound when greater than 20 phr of APC was used. The investigation of the surface property of APC-NBR blend under Atomic Force Microscopy (AFM) found the adhesive force of tip-surface increased as a function of the amount of APC. This shows that APC contributes to the adhesive strength of NR//NBR. The storage of APC-NBR showed the decrease in the adhesive strength due to pre-crosslinking which was proven by a smaller torque difference of cure test. IR investigation of stored samples illustrated the formation of oxidation product from BQD in NBR compound. The addition of CSPE in NR at 60 phr showed the cohesive failure in a peel test of NR//NBR because the chlorine (Cl) in CNR and chlorosulfonate (SO2Cl) groups in CSPE could chemically react with acrylonitrile (CN) of NBR resulting in excellent bonding of NR//NBR.
Abstract: ยางธรรมชาติเป็นยางที่มีสมบัติทางกลและสมบัติทางกลเชิงพลวัตรที่ดี อย่างไรก็ตามสมบัติบางประการของยางธรรมชาติ นั้นด้อยกว่ายางสังเคราะห์มาก อาทิเช่น การทนน้ำมันและการทนต่อสภาพอากาศ การห่อหุ้มยางธรรมชาติด้วยยางสังเคราะห์เป็นทาง เลือกหนึ่งที่จะสามารถรวมเอาคุณสมบัติที่ดีของยางทั้งสองชนิดเอาไว้ด้วยกัน ซึ่งแนวความคิดนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับผลิต ภัณฑ์ได้หลากหลายประเภท เช่น ท่อส่งน้ำมัน, ส่วนรองรับน้ำหนักของสะพาน, ยางกันกระแทกของท่าเรือ เป็นต้น การติดกันที่ดี ระหว่างยางธรรมชาติกับยางไนไตรล์มีความสำคัญต่อการปรับปรุงสมบัติของยางธรรมชาติโดยวิธีดังกล่าว ในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อการติดกันของยางธรรมชาติกับยางไนไตรล์ โดยได้พัฒนาสาร ประกอบที่ช่วยส่งเสริมการยึดติด (Adhesion Promoter Compound หรือ APC) สำหรับใช้ทั้งในรูปของสารละลาย และของแข็ง ซึ่งบทบาทของแต่ละองค์ประกอบของสารประกอบตัวนี้ก็จะได้รับการศึกษาด้วย จากการศึกษาพบว่าความแข็งแรงใน การยึดติดมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มปริมาณองค์ประกอบว่องไว (Active components) ใน APC ซึ่งประกอบไปด้วย พารา- เบนโซควิโนนไดออกซิม (BQD), เอ็น-เอ็นไพรม์-เม็ตตา-ฟีนิลีนบิสมาลีอิมไมด์ (HAV-2) และ เลดไดออกไซด์ (PbO2) นอกจากนี้ยังพบว่ายางพอลิเอทธิลีนคลอโรซัลฟอเนต (CSPE) และยางธรรมชาติคลอริเนต (CNR) มีความจำเป็นในการช่วย เพิ่มการยึดติดและไม่สามารถแทนด้วยโพลิคลอโรพรีนได้ APC จะถูกเตรียมขึ้นก่อนแล้วจึงนำไปรวมเข้ากับยางธรรมชาติและยาง ไนไตรล์เพื่อปรับปรุงการยึดติดกันระหว่างยางธรรมชาติและยางไนไตรล์ ลักษณะของความเสียหายแบบโคฮีซิฟ (cohesive failure) กล่าวคือมีค่าแรงยึดติดมากกว่า 104 J/m2 เกิดขึ้นเมื่อผสม 40 และ 60 ส่วนของ APC ในยางไนไตรล์ การใส่ APC ในฝั่งของยางธรรมชาติในปริมาณที่มากกว่า 20 ส่วนนั้นไม่สามารถทำได้เนื่องจากยางคอมพาวด์จะเกิดการสค๊อซ (scorch) การศึกษาสมบัติทางพื้นผิวของของผสมระหว่างยางไนไตรล์กับ APC ด้วยเครื่องอะตอมมิกฟอร์สไมโครสโคฟี (AFM) พบว่าแรงดึงดูดระหว่างปลายเข็มและพื้นผิวเพิ่มขึ้นเป็นสัดส่วนกับปริมาณ APC แสดงว่า APC ช่วยเพิ่มแรงยึดติด ระหว่างยางธรรมชาติและยางไนไตรล์ การเก็บยางผสมของยางไนไตรล์กับ APC เอาไว้ทำให้ความสามารถในการยึดติดนั้นลดลง เนื่องจากเกิดปฏิกิริยาการเชื่อมโยงขึ้นก่อนซึ่งพิสูจน์ได้จากค่าความแตกต่างระหว่างกำลังบิดสูงสุดและกำลังบิดต่ำสุด (Torque difference) ลดลงในการทดสอบสมบัติการเกิดการเชื่อมโยง อินฟาเรดสเปกโตรสโครฟี (IR spectroscopy) ให้ข้อมูล ว่าชิ้นงานที่ถูกเก็บไว้จะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชั่นของ BQD ในยางไนไตรล์ การใส่ CSPE ในปริมาณ 60 ส่วน ในยางธรรมชาติ แสดงให้เห็นว่าการแยกกันระหว่างยางธรรมชาติกับยางไนไตรล์เกิดแบบโคฮีซีฟ (cohesive) เพราะหมู่คลอรีน (Cl) ใน CNR และหมู่คลอโรซัลฟอเนต (SO2Cl) ใน CSPE สามารถเกิดปฏิกิริยาทางเคมีกับหมู่อะคริโลไนไตรล์ของยางไนไตรล์ ได้ ส่งผลให้เกิดการสร้างพันธะอย่างดียิ่งของยางธรรมชาติกับยางไนไตรล์
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2005
Modified: 2553-06-11
Issued: 2010-04-26
ISBN: 9740459021
CallNumber: TH P644i 2005
eng
DegreeName: Master of Science
©copyrights
RightsAccess:
ใช้เวลา
0.01675 วินาที

Pimsuda Heamtanon
Title Contributor Type
Sombat Thanawan
Title Creator Type and Date Create
A study to improve oil and thermo-oxidative resistances of natural rubber by blending with acrylic rubber
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sombat Thanawan
Kannaporn Pooput
วิทยานิพนธ์/Thesis
Improvement of adhesion between natural rubber and nitrile rubber by using adhesion promoter compound based on chlorosulfonated polyethylene and chlorinated natural rubber
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sombat Thanawan
Pimsuda Heamtanon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Improvement of bonding between natural rubber and nitrile rubber by chlorination of natural rubber surface
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sombat Thanawan
Patcharin Thamasirianunt
วิทยานิพนธ์/Thesis
Surface modification of vulcanized natural rubber and its adhesion to synthetic rubbers
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sombat Thanawan
Siriwat Radabutra
วิทยานิพนธ์/Thesis
Melt-spun monofilament of thermotropic liquid crystalline polymer/polypropylene in situ composite : mechanical properties, morphology and molecular orientation
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sauvarop Limcharoen;Taweechai Amornsakchai;Sombat Thanawan
Pakavadee Sukananta
วิทยานิพนธ์/Thesis
A study of defect formation in highly drawn high density polyethylenes
มหาวิทยาลัยมหิดล
Taweechai Amornsakchai;Sauvarop Limcharoen;Sombat Thanawan
Ponusa Songtipya
วิทยานิพนธ์/Thesis
A study of rheology morphology properties and molecular orientation of thermotropic liquid crystalline polymerpolypropylene in-situ composite film
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sauvarop Limcharoen;Mitchell, Geoffrey R.;Taweechai Amornsakchai;Sombat Thanawan
Sayant Saengsuwan
วิทยานิพนธ์/Thesis
Computer-assisted instruction of occupational therapy for prople with spinal cord injuries
มหาวิทยาลัยมหิดล
Kulnasan Saikhun;Sombat Thanawan;Supalak Khemthong
Panintorn Konggateyai
วิทยานิพนธ์/Thesis
Design and construction of a temperature control device for a cardioplegia solution set
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sumethee Thanungkul;Sombat Thanawan;Kulnasan Saikhun;Sutee Yoksan
Preecha Kotphootorn
วิทยานิพนธ์/Thesis
A design and construction of a pelvic floor muscle strength evaluation device
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sumethee Thanungkul;Sombat Thanawan;Jittma Manonai;Kulnasan Saikhun;Sutee Yoksan
Sakuntala Kamthaworn
วิทยานิพนธ์/Thesis
A study on the design and construction of the defibrillator analyzer
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sombat Thanawan;Kulnasan Saikhun;Somsri Daochai;Chinapat Apaiwong
Wicha Thienkusol
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effect of fibre surface treatment on the interfacial adhesion between aramid fibre and thermoplastic elastomer
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sauvarop Limcharoen;Taweechai Amornsakchai;Sombat Thanawan
Yodpant Busanong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Development of dengue virus plaque count reader apparatus
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sutee Yoksan;Sombat Thanawan;Kulnasan Saikhun
Lerchai Mosikarat.
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,012
รวม 2,012 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.149