แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

A causal model of promoting leisure-time physical activity among middle-aged Thai women
แบบจำลองเชิงเหตุผลเกี่ยวกับการส่งเสริมการออกกำลังกายของสตรีไทยวัยกลางคน

MeSH: Exercise
MeSH: Health Promotion
MeSH: Middle-Aged Thai women
MeSH: Physical Activity
MeSH: Self Efficacy
Abstract: Non-communicable diseases are the most compelling health problems among middle-aged Thai women. To prevent them, the Center of Disease Control and Prevention and the American College of Sports Medicine recommends that adults should accumulate at least 30 minutes or more of moderate intensity physical activity 5 days per week. Despite programs designed to promote physical activity, only 20% of Thai women perform regular physical activity. Promoting active lifestyles is a significant role of community nurses, therefore, a better understanding about factors influencing leisure-time physical activity (LTPA), is needed among middle-aged Thai women. The purpose of this study was to develop a causal model to explain LTPA among middle-aged Thai women. The Women’s Leisure-Time Physical Activity Promotion Model, based on the Health Promotion Model and Self-Efficacy Theory, included four predictors: 1) interpersonal influences composed of social support, social norms, and modeling; 2) perceived benefits; 3) perceived barriers, and 4) perceived self-efficacy. Multi-stage random sampling was employed to obtain a sample of 300 women aged 40-59 years residing in Bangkok Metropolis, Thailand. A self-administered questionnaire was employed to collect data. The SPSS and LISREL programs were used for data analyses. Results revealed that 43.3% of the sample met the physical activity recommendations. The model fit the data well and explained 55% of the variance of the women’s LTPA. Perceived self-efficacy was the most powerful predictor and had a positive direct effect on LTPA. Interpersonal influences, perceived benefits, and perceived barriers had indirect effects on LTPA through perceived self-efficacy. These three factors accounted for 70% of the variance in perceived self-efficacy. Interpersonal influences had a positive direct effect on perceived benefits, a negative direct effect on perceived barriers, and a positive direct effect on perceived selfefficacy. The study results indicate that enhancing self-efficacy is needed to promote LTPA in middle-aged women. The programs should include strategies such as motivation to achieve performance, verbal encouragement, and reinforcement of the advantages of the LTPA. Campaigns employing those strategies should be held continuously and they should involve influential role models such as friends, family members, and health care providers. These strategies are important for community health nurses as well as nurses working in hospitals and clinics to promote regular physical activity among middle-aged Thai women
Abstract: ปัญหาสุขภาพที่สำคัญของสตรีวัยกลางคนคือการป่วยและตายด้วยโรคไม่ติดต่อ อันเนื่องมาจากการมี พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเช่นขาดการออกกำลังกาย เพื่อเป็นการป้องกันโรคดังกล่าว ศูนย์ป้องกันและควบคุมโรค และสถาบันเวชศาสตร์การกีฬาของสหรัฐอเมริกา แนะนำให้ประชาชนออกกำลังกายในระดับปานกลาง สะสม อย่างน้อยวันละ 30 นาที สัปดาห์ละ 5 วัน แต่จากการสำรวจพบว่าสตรีไทยออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพียง ร้อยละ 20 การส่งเสริมให้สตรีวัยกลางคนมีการออกกำลังกายกันมากขึ้นจึงเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งการดำเนินงาน ดังกล่าวจำเป็นจะต้องทราบปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการออกกำลังกาย การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ เกี่ยวกับปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดการ ออกกำลังกายของสตรีวัยกลางคน รวม 4 ปัจจัย ได้แก่ 1) อิทธิพลของบุคคลอื่น ประกอบด้วย การสนับสนุน ส่งเสริม บรรทัดฐานทางสังคมและตัวอย่างในสังคม 2) การรับรู้ประโยชน์ 3) การรับรู้อุปสรรค และ 4) การรับรู้สมรรถนะของตนเอง โดยกรอบแนวคิดมีพื้นฐานจากแบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ และทฤษฎีการรับรู้สมรรถนะของตนเองของแบนดูรา กลุ่มตัวอย่างคือสตรีอายุ 40-59 ปี ที่อาศัยอยู่ใน กรุงเทพมหานครจำนวน 300 คน คัดเลือกโดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถามและทดสอบแบบจำลองด้วยโปรแกรมลิสเรล ผลการวิเคราะห์พบว่า ร้อยละ43.3 ของกลุ่มตัวอย่างมีการออกกำลังกายตามเกณฑ์ข้างต้น แบบจำลอง มีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และสามารถอธิบายความผันแปรของการออกกำลังกายของสตรี วัยกลางคนได้ร้อยละ55 การรับรู้สมรรถนะของตนเองมีอิทธิพลโดยตรงทางบวกต่อพฤติกรรมการออกกำลังกาย และทำนายพฤติกรรมการออกกำลังกายได้ดีที่สุด อิทธิพลของบุคคลอื่น การรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรค มีอิทธิพลทางอ้อมต่อการออกกำลังกายโดยผ่านการรับรู้สมรรถนะของตนเอง อิทธิพลของบุคคลอื่นมีอิทธิพล โดยตรงทางบวกต่อการรับรู้ประโยชน์และการรับรู้สมรรถนะของตนเอง และมีอิทธิพลโดยตรงทางลบต่อการ รับรู้อุปสรรค โดยทั้งสามปัจจัยนี้สามารถอธิบายความผันแปรของการรับรู้สมรรถนะของตนเองได้ร้อยละ70 ผลการศึกษาบ่งชี้ว่าการส่งเสริมให้สตรีวัยกลางคนออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอนั้น ต้องมุ่งเน้นการ สร้างให้สตรีเกิดความเชื่อมั่นว่าตนเองสามารถปฏิบัติได้ ซึ่งกระทำได้โดยการสนับสนุนส่งเสริมด้วยวิธีการต่างๆ เช่นช่วยเหลือและให้กำลังใจให้ออกกำลังกายอย่างเหมาะสมกับสุขภาพ รณรงค์สร้างกระแสและจัดสถานการณ์ ให้เห็นตัวอย่างของการออกกำลังกาย นำครอบครัวและเพื่อนเข้ามามีส่วนร่วม ตลอดจนช่วยลดทอนปัญหา อุปสรรคของการออกกำลังกาย จึงจะช่วยให้สตรีไทยวัยกลางคนมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2004
Modified: 2020-11-04
Issued: 2010-03-30
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
ISBN: 9740454569
CallNumber: TH A639c 2004
eng
Descipline: Nursing
©copyrights Mahidol University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4436652.pdf 1.95 MB182 2024-07-09 14:19:01
ใช้เวลา
0.340914 วินาที

Apa Youngpradith
Title Contributor Type
A causal model of promoting leisure-time physical activity among middle-aged Thai women
มหาวิทยาลัยมหิดล
Apa Youngpradith
Chounchom Charoenyooth
วิทยานิพนธ์/Thesis
Chounchom Charoenyooth
Title Creator Type and Date Create
The feasibility of using self-care packages to increase knowledge and improve self-care behavior of persons with diabetes mellitus
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth
Laksana Loycharoen
วิทยานิพนธ์/Thesis
The effect of health beliefs on nutrition and exercise behaviors of hyperlipidemia persons
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth
Kanjana Anutariya
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors influencing nutritional and exercise behaviors of hypertensive patients in Sainoi district, Nonthaburi province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth
Saifon Tantayothin
วิทยานิพนธ์/Thesis
A causal model of promoting leisure-time physical activity among middle-aged Thai women
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth
Apa Youngpradith
วิทยานิพนธ์/Thesis
Avoiding environmental tobacco smoke in pregnant women
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth
Pennapa Boonkaewwan
วิทยานิพนธ์/Thesis
Predictive influence of perceived disease severity in combination with perceived benefits and barriers to the dietary control behavior of type 2 diabetic patients
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth
Preeyaporn Sawatsri
วิทยานิพนธ์/Thesis
Predicting factors of spiritual well-being in persons living with HIV infection
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth
Wannapa Sittipran
วิทยานิพนธ์/Thesis
The satisfaction of postpartum mothers on discharge planning program, Thungsong Hospital, Nakhonsrithammarat province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth;Usaporn Chavalitnitikul;Nantawon Suwonnaroop
Supawadee Siripat
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors affecting health-promoting behaviors of diabetic patients seeking care at Trat Hospital, Trat province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Usaporn Chavalitnitikul;Chounchom Charoenyooth;Nantawon Suwonnaroop
Suthirat Anan
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors influencing adolescent depression
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth;Usaporn Chavalitnitikul;Prayuk Serisathien
Chuncharaporn Sriphet
วิทยานิพนธ์/Thesis
Efficacy of self-management promotion program for elderly women with urinary incontinence
มหาวิทยาลัยมหิดล
Wichit Srisuphan;Jariyawat Kompayak;Chounchom Charoenyooth;Sutthichai Jitapunkul
Waree Kangchai
วิทยานิพนธ์/Thesis
The application of the AIC process to improve the nutritional status of children aged 0-5 years in Khon Kaen province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Usaporn Chavalitnitikul;Chounchom Charoenyooth;Vera Niyomwan
Khannistha Mahem
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors related to health problems of mothers during the postpartum period at home
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth;Somchit Padumanonda;Panudda Priyatruk
Nutcharat Siridumrong
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors related to the needs for home care of patients with essential hypertension
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth;Jariyawat Kompayak;Rutja Phuphaibul
Nongnuch Petchroung
วิทยานิพนธ์/Thesis
The relationship of personal factors, perceived health status, and health-promoting behaviors among adult men in Khlong Toei crowded community, Bangkok
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth;Somchit Padumanonda;Nantawon Suwonnaroop
Naiyana Kanjanapibul
วิทยานิพนธ์/Thesis
A causal model of exercise behavior of the elderly in Bangkok metropolis
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth;Nonglak Wiratchai;Prakin Suchaxaya;Linchong Pothiban
Prapaporn Chinuntuya
วิทยานิพนธ์/Thesis
Problems and health care needs of diabetic patients staying at home in the Bangkok metropolitan area
มหาวิทยาลัยมหิดล
Panudda Priyatruk;Chounchom Charoenyooth;Jariyawat Kompayak
Wannarat Lawang
วิทยานิพนธ์/Thesis
The effect of group counseling on depression in adolescents
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth;Nantawon Suwonnaroop;Prayuk Serisathien
Ubolwanna Reunthongdee
วิทยานิพนธ์/Thesis
Thai plan for increasing production and development of educational management in nursing : a policy analysis
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Achara Sukonthasarn;Wipada Kunaviktikul;Orn-Anong Wichaikhum;Wichit Srisuphan;Usanee Jintrawet;Chounchom Charoenyooth
Kulwadee Abhicharttibutra
วิทยานิพนธ์/Thesis
Diagnostic criteria and factors associated with Thai elder abuse by family members
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chounchom Charoenyooth;Palmer, Mary H.;Kanaungnit Pongthavornkamol;Thavatchai Vorapongsathorn
Somjinda Chompunud, M.L.
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 6
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,487
รวม 2,493 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 244,146 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 620 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 488 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 73 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 56 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 9 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 2 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 1 ครั้ง
รวม 245,400 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48