แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Psychological self-care, social support, and mental health status of high school students, Bangkok Metropolis
การดูแลตนเองด้านสุขภาพจิต การสนับสนุนทางสังคม กับสุขภาพจิตของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตกรุงเทพมหานคร

MeSH: Mental Health -- in adolescent
MeSH: Self Care -- psychology
MeSH: Social Support
Abstract: The purpose of this descriptive research was to investigate psychological self-care, social support, and mental health status of high school students.The sample was selected by simple random sampling and it consisted of 608 grade 10-12 students in Bangkok. Data were collected using questionnaires for mental health status, psychological self-care, and social support. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test and Chi-square. Results showed that most of the subjects (80.1%) were normal and 19.9% had mental health problems. The subdimension of mental health: anxiety and insomnia was the most common mental health problem (x = 0.95±1.59), followed by somatic symptoms (x = 0.91±1.42) whereas the severe depression was the least common mental health problem (x = 0.54±1.22). The family’s financial status was significantly associated with mental health status. (p-value = 0.001). The subjects with normal mental health status had psychological self-care, family’s social support, friend’s social support, teacher’s social support; which had significantly higher mean scores than those of mental health problem group (xnormal = 3.00±0.26, xnormal = 4.19±0.61, xnormal = 3.42±0.61 xnormal = 3.20±0.65, xproblem= 2.95±0.30, xproblem = 3.86±0.77, xproblem = 3.28±0.75, xproblem = 2.97±0.79 respectively). The findings of the study suggested that high school students were at risk of having mental health problems. Public health nurses and personnel concerned should promote mental health and prevent mental health problems especially among those who have symptoms indicating abnormality. Urgent assistance should be offered to students who had symptoms. The assistance can be provided by home visits, family counseling and therapy for those who have tendency for mental health problems. There should also be collaboration to create a network that will offer thorough care and assistance. The emphasis should be placed on other groups of students, especially those with poor family’s financial status, low psychological selfcare or low social support.
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดูแลตนเองด้านสุขภาพจิต การสนับสนุนทางสังคม กับสุข ภาพจิตของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย เขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่กำ ลังศึกษาในชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ประจำ ปีการศึกษา 2546 ในสังกัดกรมสามัญศึกษา เขตกรุงเทพมหานคร จำ นวน 608 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วน บุคคล การดูแลตนเองด้านสุขภาพจิต การสนับสนุนทางสังคม และสุขภาพจิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจง ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน T-test, และ Chi-square ผลการวิจัยพบวา่ กลุม่ ตัวอยา่งสว่ นใหญมี่สุขภาพจิตดีรอ้ ยละ 80.1 และมีแนวโนม้ เกิดปญั หาสุขภาพ จิตร้อยละ 19.9 เมื่อพิจารณาสุขภาพจิตเป็นรายด้าน 4 ด้าน พบว่า ปัญหาแนวโน้มสุขภาพจิตในกลุ่มนักเรียนพบ มากที่สุด คืออาการวิตกกังวลนอนไม่หลับ (x = 0.95±1.59) รองลงมาคืออาการทางกาย (x = 0.91±1.42) และ ปัญหาที่พบน้อยที่สุดคือ อาการซึมเศร้าที่รุนแรง (x = 0.54±1.22) กลุ่มตัวอย่างที่มีฐานะเศรษฐกิจแตกต่างกันมี สุขภาพจิตต่างกันอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติ (p< 0.05) นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีสุขภาพจิตปกติมีการดู แลตนเองด้านสุขภาพจิตดีกว่านักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีปัญหาสุขภาพจิต (xปกติ = 3.00±0.26, x ผิดปกติ = 2.95±0.30) และนักเรียนที่มีสุขภาพจิตปกติได้รับแรงสนับสนุนจากพ่อแม่ เพื่อนและอาจารย์มากกว่านักเรียนที่ มีปัญหาสุขภาพจิต (xปกติ = 4.19±0.67, xปกติ = 3.42±0.61, xปกติ = 3.20±0.65, xผิดปกติ = 3.86±0.77, xผิดปกติ = 3.28±0.75, x ผิดปกติ = 2.97±0.72 ตามลำ ดับ) จากผลการวิจัยครั้งนี้เสนอแนะว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายนับเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อปัญหาสุข ภาพจิต พยาบาลสาธารณสุขและผู้เกี่ยวข้องควรให้การส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาทางจิตโดยให้การ ช่วยเหลือแก่กลุ่มที่มีอาการแสดงถึงความผิดปกติทางจิตและติดตามเยี่ยมบ้านให้คำ ปรึกษาและบำ บัดครอบครัว แก่กลุ่มที่มีแนวโน้มของปัญหาสุขภาพจิต พร้อมทั้งประสานความร่วมมือเพื่อสร้างเครือข่ายการดูแลช่วยเหลือ ครอบครัวให้ครอบคลุมทั่วถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มนักเรียนที่มีฐานะเศรษฐกิจ การดูแลตนเองด้านสุขภาพจิต และได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับตํ่
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2004
Modified: 2553-06-10
Issued: 2010-02-26
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
ISBN: 9740454712
CallNumber: TH P197p 2004
eng
Spatial: Bangkok
DegreeName: Master of Science
©copyrights Mahidol University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4437509.pdf 1.19 MB170 2024-07-23 11:26:19
ใช้เวลา
-0.715696 วินาที

Panthip Chantarachote
Title Contributor Type
Psychological self-care, social support, and mental health status of high school students, Bangkok Metropolis
มหาวิทยาลัยมหิดล
Panthip Chantarachote
Patcharaporn Kerdmongkol
วิทยานิพนธ์/Thesis
Patcharaporn Kerdmongkol
Title Creator Type and Date Create
The relationship between nurse support, selected factors and uncertainty in patient's illness among the emergency patients' relatives
มหาวิทยาลัยมหิดล
Sunee Lagampan;Tassanee Nontasorn;Patcharaporn Kerdmongkol;Pensiri Santayopas
Nittaya Ngamdee
วิทยานิพนธ์/Thesis
The relationship between selected factors and food consumption among monks in the northern region of Thailand
มหาวิทยาลัยมหิดล
Patcharaporn Kerdmongkol
Boonrid Prasitnarapun
วิทยานิพนธ์/Thesis
Psychological self-care, social support, and mental health status of high school students, Bangkok Metropolis
มหาวิทยาลัยมหิดล
Patcharaporn Kerdmongkol
Panthip Chantarachote
วิทยานิพนธ์/Thesis
Safer sex practices of male vocational students in Nakhon Pathom province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Patcharaporn Kerdmongkol
Napatsawan Watronachai
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors influencing on paternal developmental tasks perceived by husbands of the primigravidarum pregnant women in Suphanburi province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Patcharaporn Kerdmongkol
Phurichaya Janprasert
วิทยานิพนธ์/Thesis
Perception and satisfaction toward quality of service in operating room among personnel in Pathumthani Hospital
มหาวิทยาลัยมหิดล
Patcharaporn Kerdmongkol
Pannasa Ruksakunwanich
วิทยานิพนธ์/Thesis
Factors related to osteoporosis preventive behaviors in junior high school girls in Nan province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Patcharaporn Kerdmongkol
Kanokporn Varakorn
วิทยานิพนธ์/Thesis
The effectiveness of self-regulated learning on compliance with treatment scheme among tuberculosis patients attending the Bangkok Chest Clinic
มหาวิทยาลัยมหิดล
Supreya Tansakul;Pipat Luksamijarulkul;Patcharaporn Kerdmongkol
Duangkamon Sukwongtanon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effectiveness of the promoting infant development on parental knowledge, self efficacy, and promotive behavior for infant development
มหาวิทยาลัยมหิดล
Varattama Sukvattananan;Chanya Siengsanor;Sunee Lagampan;Patcharaporn Kerdmongkol
Suporn Noijaiboon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Development of a community-based fall prevention model for Thai older adults, living in an urban community, Bangkok
มหาวิทยาลัยมหิดล
Kwanjai Amnatsatsue;Patcharaporn Kerdmongkol;Suchinda Jarupat Maruo;Dechavudh Nityasuddhi
Kamonrat Kittipimpanon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 1,886
รวม 1,886 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 31,376 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 10 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 8 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 31,395 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.208