แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

The relationship between stress and its related factors influencing exclusive breastfeeding among working mothers
ความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวในกลุ่มแม่ที่ทำงานนอกบ้าน

MeSH: Breast Feeding
MeSH: Mothers
MeSH: Social Support
MeSH: Stress
Abstract: Exclusive breastfeeding is important for infant health during the first 6 months. In Thailand, the 30 % target leve3l of exclusive breastfeeding for at least 4 months has not been reached, especially in working mothers who tend to have a short duration of breastfeeding. Therefore the promotion, support and protection of breastfeeding among working mothers is most import. This study was a retrospective study aimed at studying the relationship between stress, factors influencing breastfeeding such as knowledge, attitude, social support for breast - feeding and exclusive breastfeeding. The subjects were 148 primipara mothers with an infant between 4-6 months of age who worked outside the home. The infants were brought by mothers for a regular check up or immunization at the Out Patient Department in Siriraj Hospital, Bangkok. Data were collected by interview during 1st July to 30th November 2003. Results showed that knowledge and attitude of breastfeeding had a positive relationship with exclusive breastfeeding ( r = 0.237, p < 0.01 and r = 0.203, p < 0.05, respectively ) while there was no significant relationship between maternal stress and social support for breastfeeding with exclusive breastfeeding ( p > 0.05 ). These finding suggests that health care providers should promote exclusive breastfeeding, providing the correct knowledge and develop positive attitude towards breastfeeding for mothers during pregnancy and further to postpartum breastfeeding. Working mothers should receive support to continue breastfeeding when they return to work.
Abstract: การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อสุขภาพของทารกในช่วง 6 เดือนแรกหลัง คลอด ประเทศไทยกำ หนดเป้าหมายไว้ว่า ลูกควรกินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 4 เดือนร้อยละ 30 แต่สถาน การณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในประเทศไทยพบว่า ยังห่างจากเป้าหมายที่กำ หนดไว้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแม่ที่ทำ งานนอกบ้านนั้นมีแนวโน้มของระยะเวลาในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ที่สั้น ดังนั้นการส่งเสริม, การสนับสนุนให้ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ รวมทั้งการป้องกันไม่ให้เลิกเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในกลุ่มแม่ที่ทำ งานนอกบ้านจึงมีความสำ คัญ การศึกษานี้เป็นการศึกษาแบบย้อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเครียด ปัจจัยที่เกี่ยว ข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เช่น ความรู้, ทัศนคติ และแรงสนับสนุนทางสังคม กับระยะเวลาการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่อย่างเดียว กลุ่มตัวอย่างเป็นแม่ที่ทำ งานนอกบ้าน, มีลูกคนแรก และอายุของลูกอยู่ระหว่าง 4 - 6 เดือน จำ นวน 148 คน โดยการสัมภาษณ์แม่ที่นำ ลูกมาตรวจสุขภาพหรือมารับวัคซีนที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล ศิริราชในระหว่างวันที่ 1 กรกฎาคม ถึง 30 พฤศจิกายน 2546 ผลการศึกษาพบว่า แม่ที่มีระดับความรู้และทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จะมีระยะเวลาการ เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวที่ยาวนานมากขึ้น ( r = 0.237, p < 0.01 และ r = 0.203, p < 0.05, ตามลำ ดับ ) ขณะเดียวกันไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความเครียด, แรงสนับสนุนทางสังคม กับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่าง เดียว ( p > 0.05 ) จากการศึกษานี้มีข้อเสนอแนะว่า เจ้าหน้าที่ทางด้านสาธารณสุขควรร่วมกันส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนม แม่อย่างเดียว โดยให้ความรู้ที่ถูกต้องและปรับทัศนคติของแม่ให้ถูกต้องเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยเริ่มตั้ง แต่ระยะตั้งครรภ์จนถึงระยะให้นมบุตร ส่วนในแม่ที่ทำ งานนอกบ้านควรได้รับการสนับสนุนให้สามารถเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ต่อไปอีกเมื่อต้องกลับไปทำ งานนอกบ้าน
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2004
Modified: 2553-05-11
Issued: 2010-02-17
ISBN: 9740451594
CallNumber: TH C473r 2004
eng
DegreeName: Master of Science
Descipline: Nutrition
©copyrights
RightsAccess:
ใช้เวลา
0.011179 วินาที

Chariya Apichatvorapong
Title Contributor Type
Somchai Durongdej
Title Creator Type and Date Create
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 4,029
รวม 4,029 คน

More info..
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.10