แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Mechanical properties of Thai orthodontic elastics
คุณสมบัติเชิงกลของยางทางทันตกรรมจัดฟันชนิดวงของไทย

MeSH: Elastic Tissue
MeSH: Rubber
Abstract: Although Thailand is the world’s largest producer and exporter of natural rubber, Thai orthodontists have had to use imported orthodontic elastics. With the co-operation of the National Metal and Materials Technology Center (MTEC) and the Faculty of Dentistry at Mahidol University, the first Thai orthodontic elastics have been produced in 2 types, no-color (Thai) and color-added (Thai-colored) elastics. The purpose of this study was to determine the in vitro mechanical properties of Thai orthodontic elastic brands (Thai and Thai-colored) in comparison to imported ones (Ormco and G&H) in 2 different size groups (1/4”, 4.5Oz and 5/16”, 4.5 Oz). The results of this study showed that most of the elastics did not match the specified force index when extended to the standard extension index of 3x internal diameter, except for the 1/4” Thaicolored and the 5/16” G&H elastics. At an equivalent extension, the 1/4” Thai brands and G&H elastics generated significantly higher force than the Ormco elastics and the 5/16” elastics of Thai brands generated significantly higher force than the imported ones. There were statistically significant differences (P<0.05) among all groups in breaking force and maximum elasticity. For the 1/4” elastics, the G&H elastics had significantly higher breaking force than other groups and the Thai brand of elastics had significantly lower maximum elasticity than imported brands. For the 5/16” elastics, the Ormco elastics had significantly lower breaking force than other groups and the G&H elastics had significantly higher maximum elasticity than other groups. The force relaxation patterns of all elastic brands were similar in both the static and dynamic tests. The significant loss of force occurred immediately after the elastics were stretched for 15 minutes then continued with slower rate for 2 hours and the force continued to reduce gradually with minimal amount until the end of the 24-hour period. The difference was statistically significant (P<0.05) among all groups of elastics in force relaxation over the 24-hour period. In the static test, the greatest percentage of force reduction occurred within 15 minutes approximately 13.0-15.0% for Thai elastics and 11.0-13.0% for imported elastics and the force reduction of all elastics continued to reduce to 17.0-19.0% at 2 hours. At 24 hours, the force reduction was approximately 20.0-23.0% for Thai elastics and was 23.4-25.0% for imported elastics. Dynamic test caused more force loss than static test, the average force reduction was approximately 15.5-16.5% for Thai elastics and 15.4-16.0% for imported elastics at 15 minutes. The force of all elastics groups reduced to 19.0-22.0% at 2 hours. The percentages of force reduction at 24 hours were approximately 21.3-22.5% for Thai elastics and 24.0-26.8% for imported elastics. Color adding did not affect the mechanical properties of Thai elastics. The mechanical properties of the Thai elastics were comparable to those of the imported elastics.
Abstract: แม้ว่าประเทศไทยจะเป็นผู้ผลิตและส่งออกยางพาราได้มากที่สุดในโลก แต่ทันตแพทย์จัดฟันของไทยยังต้อง ใช้ยางทางทันตกรรมจัดฟันที่นำ เข้าจากต่างประเทศ ยางทางทันตกรรมจัดฟันของไทยได้ถูกผลิตขึ้นเป็นครั้งแรกจาก ความร่วมมือระหว่างศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) และคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดย ได้ผลิตออกมาใน 2 รูปแบบ คือ ยางไม่มีสี และ ยางสี วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้เพื่อศึกษาคุณสมบัติเชิงกลของยางทางทันตกรรมจัดฟันชนิดวงของไทย (Thai และ Thai-colored) เปรียบเทียบกับยางที่นำ เข้าจากต่างประเทศ (Ormco และ G&H) โดยทดสอบคุณสมบัติเชิงกลของ ยางตัวอย่าง 2 ขนาด คือ 1/4 นิ้ว, 4.5 ออนซ์ และ 5/16 นิ้ว, 4.5 ผลการทดสอบพบว่ายางเกือบทุกชนิดให้แรงจากการยืด ที่ 3 เท่าของเส้นผ่าศูนย์กลางวงในของยาง ไม่เท่ากับค่าที่แจ้งไว้บนซอง ยกเว้นยางขนาด 1/4 นิ้ว จาก Thai-colored และขนาด 5/16 นิ้ว จากบริษัท G&H จากการทดสอบยางขนาด 1/4 นิ้ว ที่ระยะการยืดของยางที่เท่ากันขนาดแรงของ ยางไทยและยางบริษัท G&H มากกว่ายางบริษัท Ormco อย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติ (P<0.05) และยาง G&H ให้แรงที่จุด ขาดสูงกว่ายางชนิดอื่นและยางไทยมีระยะที่ยืดได้มากที่สุดน้อยกว่ายางนำ เข้าอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติ (P<0.05) การ ทดสอบยางขนาด 5/16 นิ้ว พบว่ายางไทยให้แรงมากกว่า ยางจากบริษัท Ormco และ G&H อย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติ (P <0.05) โดยที่จุดขาดยางบริษัท Ormco ให้แรงน้อยกว่ายางชนิดอื่นอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติ (P<0.05) และยางบริษัท G&H ยืดได้มากกว่ายางกลุ่มอื่นอย่างมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติ (P<0.05) จากการทดสอบคุณสมบัติของยางแบบ Static และ Dynamic พบว่าการลดลงของแรงในทุกกลุ่มยางมีลักษณะ คล้ายกัน คือ มีการสูญเสียแรงของยางมากและรวดเร็วในช่วงเวลา 15 นาทีแรก หลังจากนั้นการสูญเสียแรงจะมีอัตรา ลดลงและแรงเกือบคงที่หลังจาก 2 ชั่วโมง โดยจากเวลา 2 ถึง 24 ชั่วโมงพบการลดลงของแรงเพียงเล็กน้อย และ พบ ความแตกต่างอย่างมีนัยสำ คัญทางสถิติระหว่างยางจากแต่ละบริษัท จากการทดสอบแบบ Static พบว่าเปอร์เซ็นต์ของ การลดลงของแรงเกิดขึ้นมากที่สุดภายใน 15 นาที ยางไทย มีการลดลงของแรงประมาณ 13.0-15.0% และยางนำ เข้ามี การลดลงประมาณ 11.0-13.0% ที่เวลา 2 ชั่วโมงยางทุกชนิดมีการลดลงของแรงประมาณ 17.0-19.0% และ ที่เวลา 24 ชั่วโมง ยางไทยมีการลดลงของแรงประมาณ 20.0-23.0% และยางนำ เข้ามีการลดลงประมาณ 23.4-25.0% การทดสอบ แบบ dynamic มีการลดลงของแรงมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับการทดสอบแบบ static ที่เวลา 15 นาที ยางไทยมีการลด ลงของแรงประมาณ 15.5-16.5% และยางที่นำ เข้ามีการลดลงของแรงประมาณ 15.4-16.0% ที่เวลา 2 ชั่วโมง ยางทุก ชนิดมีการลดลงของแรงประมาณ 19.0-22.0% ที่เวลา 24 ชั่วโมง ยางไทยมีการลดลงของแรงประมาณ 21.3-22.5% และยางนำ เข้ามีการลดลงประมาณ 24.0-26.8% การเติมสีในยาง ไม่มีผลกระทบต่อคุณสมบัติเชิงกลของยางทางทันต กรรมจัดฟันของไทย ยางทางทันตกรรมจัดฟันของไทยมีคุณสมบัติเชิงกลใกล้เคียงกับยางทันตกรรมจัดฟันจากต่าง ประเทศ
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2004
Modified: 2553-03-24
Issued: 2010-02-15
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
ISBN: 9740449336
CallNumber: TH C533m 2004
eng
DegreeName: Master of Science
Descipline: Orthodontics
©copyrights Mahidol University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4536425.pdf 1.54 MB24 2020-05-23 19:05:56
ใช้เวลา
-0.728756 วินาที

Chidruthai Boonyanate
Title Contributor Type
Mechanical properties of Thai orthodontic elastics
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chidruthai Boonyanate
Niwat Anuwongnukroh
วิทยานิพนธ์/Thesis
Niwat Anuwongnukroh
Title Creator Type and Date Create
Mechanical properties of Thai orthodontic elastics
มหาวิทยาลัยมหิดล
Niwat Anuwongnukroh
Chidruthai Boonyanate
วิทยานิพนธ์/Thesis
Reliability of cephalometric measurements : a comparison of digital image input techniques ‪(scanner vs digital camera)‬
มหาวิทยาลัยมหิดล
Niwat Anuwongnukroh
Lada Shinawatra
วิทยานิพนธ์/Thesis
The development of model analyzer in orthodontics
มหาวิทยาลัยมหิดล
Surachai Dechkunakorn;Niwat Anuwongnukroh;Sunprasit Limnararat
Sukit Eimtaveecharern
วิทยานิพนธ์/Thesis
Influence of reduction ratio of cross sectional area in drawing stainless steel wire for orthodontic use
มหาวิทยาลัยมหิดล
;Niwat Anuwongnukroh;Surachai Dechkunakorn;Pongpan Kaewtatip
Siriwat Chamnunphol
วิทยานิพนธ์/Thesis
Thai orthodontic elastomeric ligatures
มหาวิทยาลัยมหิดล
Surachai Dechkunakorn;Niwat Anuwongnukroh;Pasaree Laokijcharoen
Thammanoon Boonyarangkul
วิทยานิพนธ์/Thesis
A study of polymethyl methacrylate as a substrate for biosensors and dental materials
มหาวิทยาลัยมหิดล
Toemsak Srikhirin;Chinnawut Pipatpanukul;Surachai Dechkunakorn;Niwat Anuwongnukroh
Shrestha, Binit, 1982-
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,835
รวม 2,837 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 67,867 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 34 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 10 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
รวม 67,920 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.136
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180