แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

A critical study of hacker ethics
การศึกษาเชิงวิพากษ์หลักจริยธรรมของนักเลงคอมพิวเตอร์

LCSH: Computer hackers
LCSH: Ethics
Abstract: This documentary research has the objectives to study the history, meaning, and kinds of hackers, including the way they work, and to critically study the ethical principles underlying their activities. The results of the study shows that hackers first developed around 1945-1960 from those in MIT whose work was to develop software and solve problems related to computers. In addition, from 1990 on, a new breed of hackers has roamed the cyberworld. However, both generations of hackers share a strong enthusiasm for the pursuit of knowledge concerning the way the computer functions. They are usually educated in both formal and informal systems, and learned in both theory and practice. Moreover, they have a tradition of sharing knowledge and experience among their kind. Nevertheless, a variety of ways in which they engage in the cognitive pursuit involves them in activities ranging from morally suspicious to illegal. Their attempt to justify their acts eventually gives rise to hacker ethics. The hacker ethics can be classified, according to the hacker’s generation, into the old and the new hacker ethics. The comparative analysis shows that the old hacker ethics comprises more right claims than imperatives whereas the new hacker ethics dictates more duties and contains fewer rights. However, close consideration indicates that the pursuit of knowledge and creativity is the absolute goal of both old and new hackers. Despite their reasonable goal, the means they employ are not only morally questionable, but can actually cause damage to the public. This is true even when it is apparent that authentic hackers are limited to those committed to the hacker ethics, which already bars them from the infringement on individuals’ rights. Hackers dictate sharing as one of their duties because they believe it facilitates learning and creativity, their ultimate value. This sounds reasonable. Therefore, the suggestion is that further study should be conducted about the sharing in the context of today’s globalization and liberalism.
Abstract: การวิจัยเชิงเอกสารครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ความหมาย ประเภท และลักษณะการ ทำ งานของนักเลงคอมพิวเตอร์ และเพื่อศึกษาเชิงวิพากษ์หลักทางจริยธรรมเบื้องหลังกิจกรรมของนักเลง คอมพิวเตอร์ ผลการศึกษาแสดงว่านักเลงคอมพิวเตอร์พัฒนามาจากนักพัฒนาโปรแกรมและแก้ไขปัญหาต่างๆ เกี่ยว กับการทำ งานของคอมพิวเตอร์ที่สถาบัน MIT ในปี ค.ศ. 1945-1960 และในปี 1990 เป็นต้นมาก็ได้เกิดนักเลง คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ขึ้นในโลกไซเบอร์ อย่างไรก็ตามทั้งสองรุ่นนี้ต่างมีความมุ่งมั่นที่จะหาความรู้ด้านการทำ งาน ของคอมพิวเตอร์ คนเหล่านี้ผ่านการศึกษาทั้งในและนอกระบบ มีความรู้ทั้งระดับทฤษฎีและปฏิบัติ มีประเพณีการ แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ อย่างไรก็ตาม รูปแบบการแสวงหาความรู้ที่หลากหลายบางครั้งก็ทำ ให้พวก เขาเกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่น่าสงสัยว่าผิดจริยธรรมไปจนกระทั่งที่ผิดกฎหมาย ความพยายามที่จะให้เหตุผล สนับสนุนการกระทำ เหล่านี้ทำ ให้เกิดหลักจริยธรรมของนักเลงคอมพิวเตอร์ขึ้น หลักจริยธรรมของนักเลงคอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็นแบบเก่ากับใหม่ตามรุ่นของนักเลงคอมพิวเตอร์ การ วิเคราะห์เปรียบเทียบแสดงว่าหลักจริยธรรมแบบเก่าประกอบด้วยเรื่องสิทธิมากกว่าหน้าที่ ขณะที่แบบใหม่ ประกอบด้วยเรื่องหน้าที่มากกว่าสิทธิ อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาแล้ว ไม่ว่ารุ่นเก่าหรือใหม่ต่างก็มีเป้าหมายสูงสุด อยู่ที่การแสวงหาความรู้และการสร้างสรรค์ แม้เป้าหมายจะดี แต่วิถีทางที่ใช้ไม่เพียงแต่น่าสงสัยว่าจะผิดจริยธรรม เท่านั้น แต่ยังจะสร้างความเสียหายให้สาธารณะได้ และเป็นเช่นนี้จริง แม้ว่านักเลงคอมพิวเตอร์ที่แท้จริงจะจำ กัด อยู่เฉพาะกับกลุ่มคนที่ยึดหลักจริยธรรมของนักเลงคอมพิวเตอร์ซึ่งป้องกันไม่ให้ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลอยู่แล้ว นักเลงคอมพิวเตอร์ถือว่าการแบ่งปันเป็นหน้าที่เพราะเชื่อว่าจะส่งเสริมการเรียนรู้และสร้างสรรค์ การ ศึกษาพบว่าข้อนี้มีเหตุผล จึงเสนอแนะให้มีการศึกษาต่อไปเกี่ยวกับการแบ่งปันในบริบทของโลกาภิวัฒน์และเสรี นิยมปัจจุบัน
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2003
Modified: 2553-01-27
Issued: 2009-12-01
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
ISBN: 9740434592
CallNumber: TH A872c 2003
eng
DegreeName: Master of Arts
Descipline: Ethical Studies
©copyrights Mahidol University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4137759.pdf 890.5 KB138 2023-07-06 11:34:46
ใช้เวลา
0.288236 วินาที

Atiwat Loturat
Title Contributor Type
A critical study of hacker ethics
มหาวิทยาลัยมหิดล
Atiwat Loturat
Pagorn Singsuriya
วิทยานิพนธ์/Thesis
Pagorn Singsuriya
Title Creator Type and Date Create
A critical study of hacker ethics
มหาวิทยาลัยมหิดล
Pagorn Singsuriya
Atiwat Loturat
วิทยานิพนธ์/Thesis
Christian ethics on human cloning : the dehumanization and the family devaluation
มหาวิทยาลัยมหิดล
Pagorn Singsuriya
Wattanasak Srivorakul
วิทยานิพนธ์/Thesis
A survey of ethical views of level VI students in primary schools under the office of Nakhon Pathom educational distric, region I
มหาวิทยาลัยมหิดล
Pagorn Singsuriya
Phramaha Supat Watcharapratheep
วิทยานิพนธ์/Thesis
Way of thinking of elderly and image of successful aging
มหาวิทยาลัยมหิดล
Pagorn Singsuriya
Phuanjai Rattakorn
วิทยานิพนธ์/Thesis
A study of fallacious reasoning among internet users : a case study of web board messages on moral issues
มหาวิทยาลัยมหิดล
Pagorn Singsuriya
Kanchana Chokwichien
วิทยานิพนธ์/Thesis
Water ethic : a theoretical study
มหาวิทยาลัยมหิดล
Pagorn Singsuriya
Keadtisak Yungyuen
วิทยานิพนธ์/Thesis
The impact of the insurgency at the Southern Border of Thailand on the Muslims in Bangkok
มหาวิทยาลัยมหิดล
Pagorn Singsuriya
Daranee Waraseth
วิทยานิพนธ์/Thesis
Ethics of sexual health among school adolescents in Nakornratchsima province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Supavan Phlainoi;Chai Podhisita;Pagorn Singsuriya
Nussara Vichitkaew
วิทยานิพนธ์/Thesis
Ethical problems in healing by witchcraft practice : a case study of Mhor Thum in Tambon Nongsuang, Amphur Nongkungsri, Kalasin province
มหาวิทยาลัยมหิดล
Pagorn Singsuriya;Sarinthip Satheerasilapin;Parichart Suwanbubbha
Santi Kinnaree
วิทยานิพนธ์/Thesis
Buddhist university's students and social activism : a case study of the attitude of Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Nakhon Phanom Sangha College's students toward thier social activism
มหาวิทยาลัยมหิดล
Teeradej Chai-Aroon;Pagorn Singsuriya
Boorakorn Boriboon
วิทยานิพนธ์/Thesis
The Rupa-and Khandhattaya-Pariccheda-s of the Saccasankhepa a study of the text in its Burmese transmission together with an English translation and notes
มหาวิทยาลัยมหิดล
Falques, Aleix Ruiz;Salvini, Mattia;Pagorn Singsuriya
Van Pannabhoga, Herngseng, 1977-
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,067
รวม 2,070 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 213,414 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 682 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 553 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 49 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 43 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 24 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 4 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
รวม 214,775 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48