แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

The communicative language teaching ‪(CLT)‬ conceptualization and CLT practice of thai EFL school teachers in Bangkok
การศึกษาความรู้ความเข้าใจตามแนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษตามทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารและการปฏิบัติการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของครูไทยผู้สอนภาษาอังกฤษระดับมัธยมศึกษา

ThaSH: Language teachers -- Training of
ThaSH: Communicative competence -- Study and teaching
ThaSH: Language and languages -- Study and teaching
Abstract: The purpose of this survey research was to investigate the Communicative Language Teaching (CLT) conceptualization and practice of Thai EFL secondary school teachers in Bangkok. The sample was derived from multi-stage sampling. The sample was composed of 58 Thai EFL teachers who were teaching from Matayomsuksa one (Grade 7) to Matayomsuksa six (Grade 12) in public secondary schools in 2007. Nine of these took part in individual interviews. 2,328 EFL earners who had studied with the sample Thai EFL teachers were also part of the sample. There were three research instruments: a teacher questionnaire, a student questionnaire and a semi-structured interview. The questionnaires and the face-to-face interview investigated the CLT conceptualization and the CLT practice of these Thai EFL secondary school teachers. The data was analyzed statistically through means, frequencies, percentages and ratios. The research revealed that the teachers had a clear conceptualization of CLT and were enthusiastic in learning about CLT from different sources such as media, research studies, and seminars. The teachers, however, applied CLT in their teaching only moderately. Some suggested that this was due to large classes, lack of equipment, and time constraints. They often used Thai to teach English and applied both CLT and traditional approaches in their classrooms. For instance, the EFL learners learned English individually – exemplifying traditional approaches – or in pairs – in accordance with CLT precepts. A perceived difficulty was that both teachers and learners felt obliged to partly focus on developing knowledge and skills for the English entrance examinations rather than for English communication. To remedy these problems, teachers should be given more training opportunities and course and exams designed to be more flexible and responsive
Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจตามแนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาอังกฤษตามทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร และการปฏิบัติการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารของครูไทยที่สอนระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนรัฐบาล ในเขตกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2550 กลุ่มตัวอย่างของการศึกษาครั้งนี้ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอนประกอบด้วยครูที่สอนภาษาอังกฤษ ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 จำนวน 58 คน รวมทั้งครูจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 9 คน สำหรับการสัมภาษณ์ของงานวิจัยนี้ และนักเรียนจำนวน 2,328 คนที่เรียนกับครูที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถามสำหรับครู เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจตามแนวคิดเกี่ยวกับการสอนตามทฤษฎีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารและแบบสอบถามสำหรับนักเรียน เพื่อวัดการปฏิบัติการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร รวมทั้งการสัมภาษณ์เพื่อวัดความเข้าใจตามแนวความคิดและการปฏิบัติการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย, ความถี่, ร้อยละ และสัดส่วน ผลการศึกษาพบว่าครูมีความรู้ความเข้าใจแนวการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารค่อนข้างสูงและมีความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ความเข้าใจจากแหล่งต่างๆ อาทิ สื่อ ผลงานวิจัย และการสัมมนา ครูมีการปฏิบัติการสอนเพื่อการสื่อสารระดับปานกลาง การปฏิบัติการสอนของครูใช้วิธีผสมผสานแบบดั้งเดิมกับแบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร โดยปกติผู้เรียนมักจะเรียนภาษาอังกฤษโดยทำกิจกรรมเป็นรายบุคคลหรือเป็นคู่มากกว่าเป็นกลุ่มและมีการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารอยู่บ่อยครั้งในชั้นเรียนภาษาอังกฤษ เป้าหมายการเรียนการสอนในชั้นเรียนและการประเมินผลส่วนหนึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาความรู้และทักษะเพื่อการสอบเข้าศึกษาต่อมากกว่าเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2008
Modified: 2021-01-24
Issued: 2009-11-26
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
CallNumber: TH P541c 2008
eng
DegreeName: Master of Arts
©copyrights Mahidol University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4636264.pdf 1.42 MB1072 2025-07-11 15:11:39
ใช้เวลา
-0.733217 วินาที

Phenthip Manajitt
Title Contributor Type
The communicative language teaching ‪(CLT)‬ conceptualization and CLT practice of thai EFL school teachers in Bangkok
มหาวิทยาลัยมหิดล
Phenthip Manajitt
Patama Kittidhaworn
วิทยานิพนธ์/Thesis
Patama Kittidhaworn
Title Creator Type and Date Create
A comparative study between the C-Test and the NC-Test and between the MC-Test and the NMC-Test, using identical texts
มหาวิทยาลัยมหิดล
Patama Kittidhaworn
Montarat Rungruangthum
วิทยานิพนธ์/Thesis
The communicative language teaching ‪(CLT)‬ conceptualization and CLT practice of thai EFL school teachers in Bangkok
มหาวิทยาลัยมหิดล
Patama Kittidhaworn
Phenthip Manajitt
วิทยานิพนธ์/Thesis
A comparative study of the structures of language and linguistics journal research article introductions written in Thai and in English
มหาวิทยาลัยมหิดล
Patama Kittidhaworn
Porjai Im-O-Cha
วิทยานิพนธ์/Thesis
A corpus study of high-frequency words in civil engineering research articles : subdisciplinary differences between structure and transportation
มหาวิทยาลัยมหิดล
Patama Kittidhaworn
Chamnan Para
วิทยานิพนธ์/Thesis
A study of the main features of English used by Thai recreational users of web boards
มหาวิทยาลัยมหิดล
Broughton, Maurice M.;Patama Kittidhaworn
Suratchada Kaneungpian
วิทยานิพนธ์/Thesis
An evaluation of the master of arts program in Applied Linguistics (Teaching English for Specific Purposes) Mahidol University
มหาวิทยาลัยมหิดล
Boosakorn Vijchulata;Patama Kittidhaworn
Manta Supanakorn
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 23
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,085
รวม 3,108 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 70,518 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 86 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 39 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 11 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 6 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 70,663 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48