แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

In vitro rubber biosynthesis from fresh bottom fraction formation of polyprenol and rubber
ชีวเคมีของการสังเคราะห์ยางในหลอดทดลองจาดส่วนล่างสุดของน้ำยาง : การเกิดพอลิพรีนอลและยาง

LCSH: Rubber
MeSH: In Vitro
MeSH: Latex Hypersensitivity
Abstract: After high-speed centrifugation, fresh natural rubber latex from Hevea brasiliensis was divided into three fractions, i.e., cream, C-serum and bottom fraction (BF). BF contains the substrates and enzymes, including isopentenyl diphosphate (IDP), which are necessary for a formation of new rubber and polyprenol. The in vitro rubber biosynthesis was found to form by the incubation of fresh BF at 37°C for 6 h after pre-incubation with an addition of substrates at 4°C for overnight. In the rubber biosynthesis pathway, there are two substrates involved with the rubber biosynthesis, i.e., farnesyl diphosphate (FDP), as initiating species and IDP, as a chain elongation. The attempt in this present work was to elucidate the effect of the concentration of FDP and IDP on the rubber and polyprenol formations from the in vitro biosynthesis by using fresh BF system. In this work, the newly formed rubber was obtained from the incubation of fresh BF with an addition of FDP, IDP or a combination of FDP and IDP, which was subjected to incubation, as the condition ascribed above. It was found that the amounts of FDP and IDP affected rubber yield significantly. The high amount of FDP, with the presence of low IDP amount gave higher rubber yield than that obtained from the addition of IDP alone. In addition, the highest rubber yield was obtained from the addition of only exogenous FDP at low amount. This indicates that there was a competitive reaction between FDP and IDP to form polyprenol and rubber, respectively. However, the reproducibility of the experiment was found to be poor due to the occurrence of hard gel formation in the BF after extraction with toluene. In the case of polyprenol formation, it was found that the polyprenol yield, which was calculated by quantitative measurement using 1H-NMR, was very low. The qualitative analysis of polyprenols was confirmed by reversed phase-thin layer chromatography (RP-TLC) in comparison with the authentic standards. However, the structure of polyprenol could not clarify due to its low amount.
Abstract: น้ำยางสดจากต้นยางพาราหลังจากการปั่นด้วยเครื่องปั่นความเร็วสูงแล้ว สามารถแบ่งออกได้เป็นสามส่วนใหญ่ๆคือ อนุภาคยาง ซี-เซรุ่มและ ส่วนล่างสุดของน้ำยาง (BF) ซึ่งในส่วน BF มีสารและเอ็นไซม์ซึ่งรวมถึงไอโซเพนเทนนิลไดฟอสเฟต (IDP) ที่มีความเกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ยางใหม่และพอลิพรีนอล โดยในการศึกษาการสังเคราะห์ยางในหลอดทดลองที่ผ่านมาพบว่าการสังเคราะห์ยางสามารถเกิดขึ้นโดยการทำปฏิกิริยา BF ซึ่งได้ผสมสารที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ยางลงไป แล้วทำการเก็บไว้ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 1 คืน และต่อด้วยที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 6 ชั่วโมง สารที่เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ยางนั้นมี 2 ชนิด คือ FDP และ IDP ซึ่งจัดว่าเป็นตัวเริ่มต้นปฏิกิริยาและตัวต่อปฏิกิริยาตามลำดับ ในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาถึงผลของความเข้มข้นของ FDP และ IDP ที่มีต่อการสังเคราะห์พอลิพรีนอลและยางตามลำดับ ในส่วนของการทดลองเริ่มจากการเติมสารที่เกี่ยวกับการสังเคราะห์ยางลงทั้งสองชนิดใน BF ซึ่งได้หลังจากการปั่นที่ความเร็วสูง หลังจากนั้นนำไปบ่มตามสภาวะที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการปริมาณของ FDP และ IDP มีผลต่อปริมาณยางที่สังเคราะห์ได้อย่างเห็นได้ชัดเจน โดยเมื่อความเข้มข้นของ FDP มากในขณะที่ความเข้มข้นของIDP น้อยปริมาณของยางที่เกิดขึ้นใหม่นั้นจะมากกว่ากรณีที่เติม IDP เพียงอย่างเดียว แต่ถ้าความเข้มข้นของ FDP น้อย พบว่าปริมาณยางที่เกิดขึ้นใหม่นั้นมีปริมาณมากที่สุด ซึ่งจากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าการเติม FDP และ IDP มีผลทำให้เกิดปฏิกิริยาแข่งขันระหว่างการสังเคราะห์พอลิพรีนอลและยางตามลำดับ แต่อย่างไรก็ดีเมื่อได้ทำการทดลองซ้ำในหลาย ๆ ครั้งต่อมา ปรากฏว่าปริมาณยางที่เกิดขึ้นมีความไม่แน่นอนและให้ปริมาณยางที่เกิดขึ้นน้อยลง ทั้งนี้พบว่าเนื่องมาจากมีการเกิดส่วนของยางที่ไม่สามารถสกัดออกมาได้ด้วยสารละลายหรือเจลแข็งซึ่งติดอยู่ในส่วน BF ในกรณีของการเกิดพอลิพรีนอลพบว่าปริมาณของพอลิพรีนอลที่เกิดขึ้นมีปริมาณที่น้อยมากซึ่งได้มาจากการคำนวณเชิงปริมาณโดยใช้เทคนิค 1H-NMR ได้ทำการยืนยันผลการวิเคราะห์เชิงคุณภาพของพอลิพรีนอลจากเทคนิคโครมาโตกราฟฟี (RP-TLC) อย่างไรก็ดียังไม่สามารถสรุปโครงสร้างของพอลิพรีนอลได้ว่าเป็นเช่นไรเนื่องจากปริมาณของพอลิพรีนอลน้อยไป
Mahidol University
Address: NAKHON PATHOM
Email: liwww@mahidol.ac.th
Role: Thesis Advisors
Created: 2005
Modified: 2021-01-11
Issued: 2009-07-03
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
ISBN: 9740462812
CallNumber: TH K15in 2005
eng
DegreeName: Master of Science
©copyrights Mahidol University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 4536714.pdf 2.82 MB12 2019-05-16 16:55:50
ใช้เวลา
-0.7367 วินาที

Kamalin Kanyawararak
Title Contributor Type
In vitro rubber biosynthesis from fresh bottom fraction formation of polyprenol and rubber
มหาวิทยาลัยมหิดล
Kamalin Kanyawararak
Jitladda Sakdapipanich
วิทยานิพนธ์/Thesis
Jitladda Sakdapipanich
Title Creator Type and Date Create
Recovery and purification of small rubber particles from skim latex
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Tanaka, Yasuyuki;Jitladda Sakdapipanichr ;Pattarapan Prasassarakich
Kanokwan Jumtee
วิทยานิพนธ์/Thesis
In vitro rubber biosynthesis from fresh bottom fraction formation of polyprenol and rubber
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jitladda Sakdapipanich
Kamalin Kanyawararak
วิทยานิพนธ์/Thesis
Origin of colloidal behavior of natural rubber particles
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jitladda Sakdapipanich
Jitlada Sansatsadeekul
วิทยานิพนธ์/Thesis
Functionalization of rubber latex VIA photocatalytic reaction using TiO2 as a catalyst
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jitladda Sakdapipanich
Sumethanee Teangtae
วิทยานิพนธ์/Thesis
Hydrogenation of deproteinized natural rubber latex
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jitladda Sakdapipanich,
Suwatchai Chiampreecha
วิทยานิพนธ์/Thesis
Control of the degradation of natural rubber : analysis and application of naturally occurring anti-and pro-oxidants in natural rubber
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jitladda Sakdapipanich
Surakit Tuampoemsab
วิทยานิพนธ์/Thesis
Effect of non-rubber components on basic characteristics and physical properties of natural rubber from Havea Brasiliensis
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jitladda Sakdapipanich
Kanjanee Nawamawat
วิทยานิพนธ์/Thesis
Studies on the activation factors of rubber biosynthesis in small rubber particles of hevea brasiliensis latex
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jitladda Sakdapipanich
Paveena Nawakitkosol
วิทยานิพนธ์/Thesis
Development of polymeric rod as an implantable drug delivery system for liver cancer therapy
มหาวิทยาลัยมหิดล
Norased Nasongkla;Jitladda Sakdapipanich;Suradej Hongeng
Pat Akarajirathun
วิทยานิพนธ์/Thesis
A study of relationship between mechanical properties, oil resistance, rheological properties and phase size of rubber dispersed in NR/NBR blends
มหาวิทยาลัยมหิดล
Chakrit Sirisinha;Jitladda Sakdapipanich
Jarunee Thunyarittikorn
วิทยานิพนธ์/Thesis
Controlled degradation of cured natural rubber by encapsulated benzophenone as photosensitizer
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jitladda Sakdapipanich;Krisda Suchiva
Sa-ad Riyajan
วิทยานิพนธ์/Thesis
Properties and structural characterization of small rubber particles in natural rubber latex
มหาวิทยาลัยมหิดล
Jitladda Sakdapipanich;Tanaka Yasuyuki;Krisda Suchiva
Kanjanee Nawamawat
วิทยานิพนธ์/Thesis
A study to improve characterisation of prevulcanised natural rubber latex
มหาวิทยาลัยมหิดล
Pramuan Tangboriboonrat ;Jitladda Sakdapipanich ;Kulthida Vongbupnimit
Am-orn Ruenrengkan
วิทยานิพนธ์/Thesis
A study of variability in processing properties of Thai natural rubber
มหาวิทยาลัยมหิดล
Krisda Suchiva;Jitladda Sakdapipanich;Chakrit Sirisinha
Amornrat Chanmanit
วิทยานิพนธ์/Thesis
A study of production parameters affecting consistency in processing properties of natural rubber
มหาวิทยาลัยมหิดล
Krisda Suchiva;Jitladda Sakdapipanich;Chakrit Sirisinha
Wirach Taweepreda
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,329
รวม 2,331 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 67,968 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 34 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 10 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 5 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
รวม 68,021 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180