Abstract:
การวิจัยเรื่องปัญหาความต้องการในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดนครปฐม มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. เพื่อศึกษาความเป็นมาขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครปฐม
2. ศึกษาการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครปฐม ด้านโครงสร้างและระบบงาน ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการคลังและงบประมาณ รวมทั้งงานด้านพัสดุ
3. ศึกษาปัญหาในการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครปฐม รวมทั้งข้อเสนอแนะของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล
4. ศึกษาความต้องการจำเป็นในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครปฐม
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเอกสารและการศึกษาวิจัยภาคสนาม โดยทำการวิจัยองค์การบริหารส่วนตำบลทุกแห่งในจังหวัดนครปฐมที่มีอยู่จำวน 102 แห่ง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้วิธีการเก็บรวบรวมจากเอกสารและเก็บจากภาคสนามโดยวิธีการสัมภาษณ์ ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล และสังเกตสภาพแวดล้อมสถานที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าร้อยละ
ผลการวิจัยมีดังนี้
1. ความเป็นมาขององค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลเป็นการปกครองท้องถิ่นเป็นการกระจายอำนาจ ที่ได้รับการพัฒนามายาวนานตั้งแต่ในสมัยรัชกาลที่ 5 และเริ่มเป็นรูปแบบเมื่อมีคำสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 222/2499 ลงวันที่ 8 มีนาคม 2499 ต่อมามีพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการส่วนตำบล พ.ศ. 2549 ได้จัดตั้งหน่วยการปกครองท้องถิ่นที่เรียกว่าองค์การบริหารส่วนตำบล แต่การบริหารระดับตำบลประสบปัญหาหลายประการ จึงได้มีการยกเลิกโดยคำสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ 275/2509 ลงวันที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2509 แล้วจัดระเบียบการบริหารงานในตำบลใหม่ จนปี พ.ศ. 2515 มีประกาศของคณะปฏิวัติฉบับที่ 326 ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ได้มีจัดระเบียบการบริหารราชการส่วนตำบล พ.ศ. 2499 จนกระทั่งได้มีการประกาศใช้พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 ให้สภาตำบลมีฐานะเป็นนิติบุคคลทั้งหมด และสภาตำบลที่มีรายได้ตามเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด
The study aimed to investigate the Subdistrict Administration Organizations (SAO) in Nakhon Pathom, regarding their background, organizationalstructures and systems of personnel administration, financial and budgeting administration and supply administration; administrative problems, and ; recommendations from the SAOs administrators, as well as their needs.
The method of study was a combination of documentary and field research. The population were 102 SAOs in Nakhon Pathom. The collection of the data was conducted through interviewing. The administrators of the SAO, and formed observation. The collected data was analyzed for percentage.
The results were as follows
1. Background of SAOs. The SAO is a form administrative decentralization, which has been developed since the reign of King Rama V. The concrete organizational structure was first established in accordance with the Interior Ministry s Order Number 222/1956, dated 8 March 1956 Later, in the same year, the Subdistrict Administrative Act 1956 was released and it created the Subdistrict Administration Organization a from of local administration, However the established subdistrict administration faced a lot of problems ; thus, it was revoked later by the Interior Ministry s Order Number 275/1966, dated 1 March 1966. The subdistrict administrative form was rearranged.
Finally, the Revolutionary Order Number 326 dated 13 December 1972, abolished the Subdistrict Administration Organization 1956. Then, the subdistrict Council and subdistrict Administration Act 1994 was enacted. The Act made all the subdistrict councils gain their legal entities ; it also authorized any subdistrict concils the could obtain the certain amount of revenue to change their status into subdistrict Administration Organizations. In 1999, the Act was amended and it has been used untilnow.
2. Administration of the SAOs in Nakhon Pathom.
2.1 Organizational structures and systems. There are problems between the Subdistrict Councils and the committee of the SAOs, regarding meetings, job performance, and authorization, Most of the SAOs hold two meetings annually, and each meeting.