แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

โอกาสในการอนุรักษ์ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยย่านเมืองเก่าสกลนคร
Conservation potential to revitalise housing community in Sakolnakorn old town district

ThaSH: ที่อยู่อาศัย
Abstract: พ.ศ.2547 การเคหะแห่งชาติจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยเมืองสกลนครแบบมีส่วนร่วม พบว่าปัญหาที่อยู่อาศัยที่ชาวสกลนครเห็นว่ามีความสำคัญมากคือปัญหาที่อยู่อาศัยในย่านเมืองเก่า เนื่องจากที่อยู่อาศัยที่มีเอกลักษณ์ถูกทิ้งร้าง และมีสภาพทรุดโทรมชาวเมืองจึงต้องการให้มีการดำเนินงานอนุรักษ์และฟื้นฟูที่อยู่อาศัยเพื่อให้ชุมชนมีสภาพภาพการอยู่อาศัยที่ดีขึ้น ผลการศึกษาพบว่าสภาพปัจจุบันที่อยู่อาศัยที่มีเอกลักษณ์ในย่านเมืองเก่าสกลนครมีทั้งหมด 186 หลัง จำนวนมากอยู่ในสภาพทรุดโทรมทำให้มีคุณภาพการอยู่อาศัยที่ลดลง สาเหตุเกิดจาก อายุอาคารที่อยู่อาศัยที่ก่อสร้างมานาน มีอายุเฉลี่ยประมาณ 80 ปี และจากปัญหาภาวะเศรษฐกิจของผู้อยู่อาศัยในระดับครัวเรือนโดยมีร้อยละ 30 ของที่อยู่อาศัยที่สำรวจทั้งหมดมีรายได้เฉลี่ย 5,000 บาทต่อเดือน จึงไม่สามารถรับภาระในการดูแลรักษาบ้านของตนเองได้ นอกจากนั้นยังพบปัญหาการอยู่อาศัยคือ พื้นที่ใช้สอยไม่เพียงพอเนื่องจากการอยู่อาศัยแบบครอบครัวขยาย และที่อยู่อาศัยแบบที่มีเอกลักษณ์เหล่านี้ ไม่สอดคล้องกับวิถีชีวิตสมัยใหม่ ทำให้ผู้อยู่อาศัยใช้ประโยชน์ได้ไม่เต็มที่ และเนื่องจากเป็นบ้านไม้ จึงเสี่ยงต่ออัคคีภัย และค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาบ้านไม้มีราคาสูง ซึ่งสิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ผู้อยู่อาศัยมีแนวคิดที่จะรื้อสร้างเป็นบ้านปูนสมัยใหม่มากขึ้น จากสภาพปัญหาที่อยู่อาศัยที่มีเอกลักษณ์ในปัจจุบัน การอนุรักษ์ ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยจะทำให้ชุมชนมีสภาพการอยู่อาศัยที่ดีขึ้นได้ และอาจนำมาซึ่งผู้มาเยี่ยมชมชุมชนที่อยู่อาศัยที่มีเอกลักษณ์นี้ อันจะเป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชนอีกทางหนึ่ง จึงเกิดความสนใจที่จะศึกษา โอกาสในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูที่อยู่อาศัย โดยมีวัตถุประสงค์ คือ (1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน และศักยภาพชุมชนในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยย่านเมืองเก่าสกลนคร (2) ศึกษาทัศนคติของชาวชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการอนุรักษ์ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยย่านเมืองเก่าสกลนคร (3) วิเคราะห์ปัจจัยในการส่งเสริมและขัดขวางการอนุรักษ์ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยในย่านเมืองเก่าสกลนคร จากการศึกษาพบว่า ปัจจัยส่งเสริมที่ทำให้มีโอกาสในการอนุรักษ์ฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัยที่เป็นปัจจัยภายใน ได้แก่ (1) ผู้อยู่อาศัยในที่อยู่อาศัยที่มีคุณค่าร้อยละ 34 ของที่อยู่อาศัยที่สำรวจเห็นด้วยกับการอนุรักษ์ ฟื้นฟูที่อยู่อาศัย (2) ผู้อยู่อาศัยมีความสัมพันธ์แบบเครือญาติที่เข้มแข็งหากมีเป้าหมายร่วมกันน่าจะทำให้ดำเนินการต่างๆได้ง่าย (3) ชุมชนมีความสัมพันธ์เชิงสังคมสูงในรูปแบบที่หลากหลายมีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในการดำเนินกิจกรรมเพื่อส่วนรวม (4) ประชาคมเมือง เทศบาลให้ความสนับสนุนกับการอนุรักษ์ ฟื้นฟูที่อยู่อาศัย ส่วนปัจจัยหนุนจากภายนอก ได้แก่ (1) มีหน่วยงานภาครัฐ , หน่วยงานทางวิชาการที่พร้อมให้การสนับสนุน (2) มีกลไกทางกฎหมายที่เอื้ออำนวย ให้เกิดการอนุรักษ์ได้ ปัจจัยต้านการอนุรักษ์ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยที่เป็นปัจจัยภายใน คือ (1) ปัญหาเศรษฐกิจระดับครัวเรือนไม่มีทุนมากพอในการที่ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยด้วยตนเองได้ (2) ชุมชนขาดความรู้ และความเข้าใจการอนุรักษ์ ฟื้นฟูที่อยู่อาศัย (3) ชุมชนยังเป็นสังคมพึ่งภายนอกรัฐอุปถัมภ์ (4) ขาดเทคโนโลยี และวัสดุที่เหมาะสม (5) ทัศนคติของผู้อยู่อาศัยในที่อยู่อาศัยที่มีเอกลักษณ์ที่มีคุณค่าร้อยละ16 ของที่อยู่อาศัยที่สำรวจไม่เห็นด้วยกับการอนุรักษ์ ฟื้นฟูที่อยู่อาศัย ส่วนปัจจัยขัดขวางจากภายนอก ได้แก่ (1) ภาครัฐยังการบริหารจัดการแบบรวมศูนย์อยู่มาก (2) ค่านิยมในการพัฒนายังขาดการศึกษาด้านมิติทางวัฒนธรรม ผลการศึกษาพบว่า การอนุรักษ์ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยในย่านเมืองเก่าสกลนครมีโอกาสที่จะเป็นไปได้ปานกลาง เนื่องจากมีปัจจัยสนับสนุนจากภาครัฐ และหน่วยงานทางวิชาการ และที่สำคัญคือเทศบาล และประชาคมเมืองสกลนครเห็นความสำคัญของการอนุรักษ์ ฟื้นฟูที่อยู่อาศัย แต่ปัจจัยที่ทำให้โอกาสการอนุรักษ์ ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยประสบความสำเร็จได้อย่างยั่งยืน โดยชุมชนเป็นแกนหลักนั้นยังคงมีโอกาสเป็นไปได้ยาก เนื่องจาก จุดอ่อนด้านทุนของผู้อยู่อาศัย และทัศนคติชุมชนยังเป็นแบบรัฐอุปถัมป์ ดังนั้น ถ้าจะทำให้สำเร็จต้อง (1) ตั้งเป้าหมายให้ถูกต้องว่าเป็นการอนุรักษ์ฟื้นฟู เพื่อชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเป็นสำคัญ (2) ในระยะแรกต้องอาศัยหน่วยงานภายนอก เช่น หน่วยงานท้องถิ่น และสถาบันการศึกษา ที่มีความเข้าใจในเป้าหมายอย่างถ่องแท้เป็นผู้จุดประกายให้กับชาวชุมชน (3) กระบวนการอนุรักษ์ ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยต้องดำเนินการโดยกระบวนการมีส่วนร่วมควบคู่กับการแลกเปลี่ยน ความรู้และเสริมศักยภาพของชุมชนในการแก้ปัญหาต่างๆด้วยตนเอง โดยอาจคัดเลือกพื้นที่ที่มีศักยภาพสูงสุดมาดำเนินการเป็นตัวอย่างอย่างเป็นรูปธรรม เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อให้เมื่อชุมชนมีความพร้อมมากขึ้นแล้วชุมชนจะสามารถปรับเปลี่ยนบทบาทมาเป็นแกนหลักในการพัฒนา อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ต่อเนื่องยั่งยืน
Abstract: When the National Housing Authority implemented the Participatory Housing Development Plan of Sakolnakorn in B.E. 2547, it discovered that the housing problems that the residents viewed as most significant were in the Old city Area. The fact that the unique housing had been deserted and run down caused the locals to organize conserving and developing activities to revitalize the community. This study result indicates that only 186 housing units with unique characteristics in the old area of Sakolnakorn survived. Most of them were in poor condition leading to decreased living quality. As these homes were approximately 80 years old on average, and their occupants’ economic status was quite low: 30% of those surveyed had an average monthly income of Baht 5,000, it was not possible for the owners to maintain these houses. Other problems found were insufficient space for use due to the extended family. These traditional homes were also incompatible with modern lifestyle, for example, the residents could not maximize their use. These wooden houses were also vulnerable to fire, and the expense in maintaining wooden homes is quite high. These factors caused the residents to think of reconstructing their homes using cement and making them more modern. Regarding the present state of housing problems, conservation and restoration of housing will better the community conditions and may bring visitors to these unique living quarters which could be an income source for the community. Thus, there was interest in studying the opportunities arising from restoration of housing with the aim to 1) study the present status and community potential in conserving restoration of the housing in the Old Sakolnakorn area; 2) research the attitudes of the local residents and involved agencies in conserving restoration of the Old Area of Sakolnakorn; and 3) analyze the positive and negative fecter affecting opportunities in conserving restoration of the area. This study found four internal factors promoting the conserving restoration of the community residential area. They are: 1) 34% of unique housing occupants agreed with the conservation and restoration of the area; 2) those residents with strong family ties cooperated easily if they shared the same goals; 3) a community with diverse forms of high social connections supporting in operating public activities; and 4) residents of the municipality provide support for the conserving restoration of housing. Two external factors were 1) the number of government offices and academic units ready to assist; and 2) the legal mechanism also facilitated this effort of conserving restoration. On the other hand, the internal limitations were as follows: 1) each household was not economically reliant to be self sufficient in conducting the activity; 2) the community still lacked knowledge and understanding of the conserving restoration process; 3) the community continued being dependent on the external patronage state; 4) the community lacked appropriate technology and materials; and 5) 16% of the residents in the unique homes had a negative attitude toward restoration. The external limitations were 1) the continuation of the centralized administration of the government sector, and 2) the lack of education in the cultural dimension of social value development. Thus, it can be concluded that the restoration of housing in the Old Sakolnakorn area is moderately feasible due to supporting factors from the government and academic offices. The key units are the municipality and the population of Sakolnakorn that realize the significance of this effort. However, it might be difficult to make the opportunities of this community-based operation more successfully sustainable because the residents are still weak in terms of capital and the community attitude still relies on the patronage state. Therefore, the following are recommended for a successful result: 1) a correct goal must be set to conserving restoration for mainly better living conditions; 2) the government sector and educational institutions with clear understanding of the goal must, initially, inspire the local residents; and 3) the revitalisation process must incorporate the processes of participation, knowledge exchange and transfer, and promote the community potential in self problem-solving by selecting and operating in the highest potential area as a concrete example and a learning resource. This is done so the community can gain readiness and adapt its role to become the core in development which will lead to sustainable and ongoing development.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิทยบริการ
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2550
Modified: 2554-06-30
Issued: 2554-06-30
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
Descipline: เคหการ
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Rawin_Th.pdf 16.47 MB158 2025-04-07 06:01:59
ใช้เวลา
0.031598 วินาที

รวินทร์ ถิ่นนคร
Title Contributor Type
โอกาสในการอนุรักษ์ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยย่านเมืองเก่าสกลนคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รวินทร์ ถิ่นนคร
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
Title Creator Type and Date Create
การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตหลังการรื้อถอนย้ายจากชุมชนใต้สะพาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
สินีนาฏ วงศ์สวัสดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้องค์ประกอบชุมชนของชุมชนแออัด เขตเมืองชั้นใน กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
สุพินดา ตั้งรุ่งเรืองอยู่
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบวินัยในการผ่อนชำระหนี้เพื่อที่อยู่อาศัย ระหว่างลูกค้าธนาคารอาคารสงเคราะห์ที่ซื้อบ้านของการเคหะแห่งชาติกับโครงการเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรีดิ์ บุรณศิริ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ธัญญพงศ์ พลชำนิ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบที่อยู่อาศัยของชุมชนดั้งเดิมในกรุงรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษาชุมชนตรอกศิลป์-ตรอกตึกดิน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
พรหมพรรณ พรหมสาขา ณ สกลนคร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การรื้อย้ายชุมชนเพื่อการก่อสร้างท่าอากาศยานสากลกรุงเทพ แห่งที่ 2 (หนองงูเห่า)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ปิยนุช หมัดนุรักษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการออกแบบที่อยู่อาศัยแบบมีส่วนร่วมของชุมชนไบเล่ย์-หลังจวนฯ จังหวัดนครราชสีมา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
นพพันธุ์ ทองเกลี้ยง
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการร่วมกันสร้างที่อยู่อาศัยด้วยตนเอง กรณีศึกษาบ้านดิน บ้านเทพพนา อำเภอเทพสถิตย์ จังหวัดชัยภูมิ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วิทยา วัชรไตรรงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศักยภาพของชุมชนเทพประทานในการจัดการที่อยู่อาศัยเพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัยอย่างยั่งยืน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
เพ็ญนิภา แสงชื่น
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวางแผนปฏิบัติการพัฒนาที่อยู่อาศัยแบบมีส่วนร่วมในชุมชนท่าน้ำสามเสน กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปฐมา หรุ่นรักวิทย์
ศศิกาญจน์ ศรีโสภณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคงอยู่ของชุมชนพักอาศัยในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษา ชุมชนหลังวัดราชนัดดา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
เดือนเต็มดวง บุณคง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างค่าใช้จ่ายด้านที่อยู่อาศัย ค่าใช้จ่ายในการเดินทางเข้าสู่แหล่งงาน และที่ตั้งที่อยู่อาศัย กรณีศึกษา ผู้ที่ทำงานในอาคารสำนักงานย่านถนนสาทร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ธเนศ ขุมทรัพย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยบนที่ดินราชพัสดุ : กรณีศึกษาชุมชนสามัคคีร่วมใจ บางเขน กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ธนะวัฒน์ รุโจประการ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยในเมืองใหม่บางพลี ในวาระที่ 1 จังหวัดสมุทรปราการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
วินิตย์ แก้วหนูนวล
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการจัดการอาคารพาณิชย์ที่มีการปรับปรุงเป็นอาคารอยู่อาศัย รวม:กรณีศึกษาอาคารพาณิชย์ในซอยหมู่บ้านวิกรม์ แขวงหัวหมาก กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย
พันธพัฒน์ บุญมา
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการประเมินมูลค่าที่ดินเพื่อที่อยู่อาศัยสำหรับการจัดรูปแปลงที่ดินใหม่ : กรณีศึกษาโครงการนำร่องในเขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
อภิชาติ โมฬีชาติ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้พื้นที่ในหน่วยพักอาศัย ในเคหะชุมชนดินแดง กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
มูฮำมัดรอโซ มาหิเละ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยอันเนื่องมาจากการฟื้นฟูชุมชนอัมพวา จ.สมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;วรรณศิลป์ พีรพันธุ์
ประสงค์ ปิยะศรีสกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
โอกาสในการอนุรักษ์ฟื้นฟูที่อยู่อาศัยย่านเมืองเก่าสกลนคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
รวินทร์ ถิ่นนคร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดให้มีที่จอดรถและการใช้พื้นที่จอดรถในโครงการบ้านเอื้ออาทร บึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
คำแหง ทองอินทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการแก้ไขปัญหาอาคารคงเหลือที่ก่อสร้างแล้วเสร็จในโครงการบ้านเอื้ออาทร : กรณีศึกษาโครงการบ้านเอื้ออาทรสมุทรปราการ 1
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
กิตติมา รุ่งกระจ่าง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาเปรียบเทียบการใช้พื้นที่ภายในห้องพักของอาคารห้องพักอาศัยรวมประเภทให้เช่ากับเช่าซื้อสำหรับผู้มีรายได้น้อยของการเคหะแห่งชาติ : กรณีศึกษาเคหะชุมชนรามคำแหงกับเคหะชุมชนออเงิน ระยะ 1
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุปรีชา หิรัญโร; กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
จันทราวรรณ อุดมลาภประสิทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การติดตามการดำเนินการแก้ปัญหาบ้านเอื้ออาทรของการเคหะแห่งชาติ ระหว่างปี 2546-2552: กรณีศึกษาบ้านเอื้ออาทร มิตรไมตรี (หนองจอก)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์; ปรีดิ์ บุรณศิริ
พรทิพย์ ดวงวัง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การอุดหนุนที่อยู่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้น้อย : กรณีศึกษาการอุดหนุนผ่านการเคหะแห่งชาติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
เสรี รณรงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพการอยู่อาศัยในหมู่บ้านจัดสรร อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม : กรณีศึกษา โครงการหมู่บ้านแสนสุข
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ปรีดาพร จักรคำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพที่อยู่อาศัยกับความเป็นเครือญาติในชุมชนเขายี่สาร จังหวัดสมุทรสงครา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;สุวัฒนา ธาดานิติ
ลัดดาวัลย์ ตระกูลรัมย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทางเลือกในการซ่อมแซมและปรับปรุงที่อยู่อาศัยในชุมชนเขายี่สาร อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ชวลิต นิตยะ
มุกดาภรณ์ สุวรรณแพทย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศักยภาพในการพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้อยู่อาศัยย่านเมืองเก่า : กรณีศึกษาชุมชนนางเลิ้ง กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
สมชาย เกตุรัตนมาลี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการวางผังอาคารพักอาศัยในโครงการอาคารชุดบ้านเอื้ออาทรแบบกลุ่มอาคารและแบบเรียงขนานที่มีต่อผู้อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการบ้านเอื้ออาทรรามอินทรา(คู้บอน) และโครงการบ้านเอื้ออาทรสมุทรปราการ 1
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
อังคาร ศักรานุกิจ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดให้มีที่จอดรถและการใช้พื้นที่จอดรถในโครงการบ้านเอื้ออาทรบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
คำแหง ทองอินทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น : กรณีศึกษาเทศบาลนครสมุทรสาคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
อภิรุณ ไกรวงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบที่อยู่อาศัยและการอยู่อาศัยในชุมชนคลองบางน้อยนอก ตำบลกระดังงา อำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;ชวลิต นิตยะ
จาราภิวันท์ ทวีสิทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความพร้อมในการฟื้นฟูที่อยู่อาศัยในชุมชนเขายี่สาร จังหวัดสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
พงษ์พิทักษ์ ปัตตานี
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านที่อยู่อาศัยตามนโยบายการกระจายอำนาจ : กรณีศึกษา เทศบาลนครสมุทรสาคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;วันชัย มีชาติ
อำนาจ ธนานันทชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผู้อยู่อาศัยกับทางเลือกในการพัฒนาที่อยู่อาศัยบนที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ : กรณีศีกษาชุมชนสุโขทัย ซอย 9 เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
อิทธิกร อรุโณรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพการอยู่อาศัยของแรงงานต่างด้าว : กรณีศึกษาชุมชนมหาชัยนิเวศน์ ตำบลโคกขาม จังหวัดสมุทรสาคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
นุชรัตน์ ตันตระกูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการซ่อมแซมที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษาชุมชนวัดธรรมนิมิต เทศบาลเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ลัคนา อนงค์ไชย
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพการอยู่อาศัยของแรงงานต่างด้าวในจังหวัดสมุทรสาคร : กรณีศึกษาชุมชนวัดตึก
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วิภาดา โนตา
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทางเลือกในการซ่อมแซมที่อยู่อาศัยในชุมชนบางน้อยนอก อ. บางคนที จ.สมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;ชวลิต นิตยะ
สมปอง จึงสุทธิวงค์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยแบบโคเฮาส์ซิ่ง : กรณีศึกษาโครงการบ้านเดียวกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย
ภูมิ ภาณุสิทธิกร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการที่อยู่อาศัยในภาวะอุทกภัย : กรณีศึกษา โครงการบ้านเอื้ออาทรลาดหลุมแก้ว 1 อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Peerapol Rajanavah;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
พีรพล โรจนเวช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การติดตามผลการดำเนินงานโครงการฟื้นฟูเมืองชุมชนดินแดง กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
สงกรานต์ อนันตภักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการด้านที่อยู่อาศัยในภาวะอุทกภัย : กรณีศึกษาโครงการบ้าน มั่นคง ชุมชนเจริญพัฒนา หมู่ 2 และชุมชนบ้านคลองรังสิต หมู่ 6 ตำบลบางพูน อำเภอ เมือง จังหวัดปทุมธานี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Rubkhwan Rerkrujipimol;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
รับขวัญ ฤกษ์รุจิพิมล
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทหน้าที่และการมีส่วนร่วมในการบริหารอาคารชุดของเจ้าของร่วม : กรณีศึกษา โครงการลุมพินี สวีท พระราม 8 โครงการลุมพินี วิลล์ บางแค และโครงการลุมพินี คอนโดทาวน์ บางแค ของ บริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ภานุพงศ์ นิลตะโก
วิทยานิพนธ์/Thesis
นโยบายและบทบาทองค์กรภาครัฐในการพัฒนาที่อยู่อาศัยผู้มีรายได้น้อยในอาเซียน: กรณีศึกษากลุ่มประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
นันท์นภัส มายะการ
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทองค์กรพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยในประเทศไทย: กรณีศึกษา มูลนิธิที่อยู่อาศัยประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;บรรณโศภิษฐ์ เมฆวิชัย
มาลินีร์ โรจนเมธาสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการจัดทำรายละเอียดโครงการและการบริหารจัดการโครงการศูนย์ชุมชนแบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาศูนย์ชุมชนบึงพระรามเก้าและชุมชนบึงพระรามเก้าพัฒนา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรีชญา สิทธิพันธุ์ ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ปรางโชสุก สุพรรณนานา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การติดตามผลการดำเนินงานโครงการปรับปรุงฟื้นฟูอาคารอนุรักษ์ ประเภทอาคารพาณิชย์พักอาศัย ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ในเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วนิดา นาสูงชน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การปรับตัวด้านที่อยู่อาศัยในชุมชนพื้นถิ่นที่มีน้ำท่วมซ้ำซาก : กรณีศึกษาบ้านนนทรีย์ ตำบลพุทเลา อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ภาสกร สติชอบ
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาการการดำเนินงานอาคารเช่าของการเคหะแห่งชาติระหว่างพ.ศ.2516-2556
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
พัชร์สิตา ภูวรัตน์เลิศโภคา
วิทยานิพนธ์/Thesis
คุณภาพชีวิตของผู้อยู่อาศัยที่เกิดจากพื้นที่สีเขียวภายในโครงการหมู่บ้านจัดสรร ระดับราคาปานกลาง กรณีศึกษา: โครงการเพอร์เฟค เพลส รัตนาธิเบศร์ และโครงการเพอร์เฟค เพลส ราชพฤกษ์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;จามรี อาระยานิมิตรสกุล
ไอริณ ภานุวัฒน์วนิชย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความเชื่อมโยงระหว่างอาชีพกับแหล่งที่อยู่อาศัยในชุมชนบนพื้นที่สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ : กรณีศึกษา ชุมชนรุ่งมณีพัฒนา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
อัญชลี เงินโพธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์บริเวณท่าเตียน กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Metee Lertpreechapakdee;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
เมธี เลิศปรีชาภักดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทบาทองค์กรภาครัฐต่อการสนับสนุนระบบการเงินที่อยู่อาศัยของประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ธนสิทธิ์ ศรีวิภาสถิตย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศักยภาพของชุมชนในการฟื้นฟูชุมชนที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา ชุมชนซอยวัดหลังบ้าน เทศบาลเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
ธีระ แก่งทองหลาง
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางในการปรับปรุงที่อยู่อาศัยบนที่ดินที่มีการถือครองกรรมสิทธิ์รูปแบบต่างๆ ในชุมชนซอยวัดหลังบ้าน เทศบาลเมืองสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Montouch Maglumtong;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
มนต์ธัช มะกล่ำทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการที่อยู่อาศัยในภาวะอุทกภัยกรณีศึกษา : โครงการเคหะชุมชนอยุธยา 1 และโครงการหมู่บ้านจัดสรรหันตราวิลล่า ตำบลหันตรา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
พัชรินทร์ ไวยอนันต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการแก้ไขปัญหาน้ำกัดเซาะที่อยู่อาศัยริมน้ำ : กรณีศึกษาชุมชนซอยวัดหลังบ้านเทศบาลเมือง สมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
มนิษฐา ไรแสง
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการปรับปรุงส้วมสำหรับที่อยู่อาศัยให้ถูกสุขลักษณะ : กรณีศึกษา ชุมชนซอยวัดหลังบ้าน จังหวัดสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ชิษณุชา ขัมภรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
โอกาสและข้อจำกัดในการนำเกณฑ์อาคารเขียวด้านทำเลที่ตั้งมาใช้กับโครงการที่อยู่อาศัยของผู้มีรายได้น้อยในเขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;อรรจน์ เศรษฐบุตร
สุรพันธุ์ นิลนนท์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการที่อยู่อาศัยในภาวะอุทกภัย กรณีศึกษา: โครงการบ้านพฤกษา 11 ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
จิราพร นนยะโส
วิทยานิพนธ์/Thesis
การติดตามผลการดำเนินงานโครงการแบ่งปันที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์: กรณีศึกษา โครงการพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ทิตยา พึ่งสุจริต
วิทยานิพนธ์/Thesis
การติดตามผลการดำเนินงานโครงการแบ่งปันที่ดินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ : กรณีศึกษา โครงการพัฒนาชุมชนสามยอด เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ศาสตรา ศรีหาภาค
วิทยานิพนธ์/Thesis
พฤติกรรมการเดินทางของผู้อยู่อาศัยในอาคารชุดที่ตั้งอยู่ในและนอกระยะการเดินถึงสถานีรถไฟฟ้าสุทธิสาร : กรณีศึกษา โครงการไลฟ์เอทสุทธิสาร ไอวี่รัชดา และรัชดาออร์คิด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;พนิต ภู่จินดา
อนุเทพ ศิริสิทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยของครัวเรือนพนักงานรัฐวิสาหกิจ:กรณีศึกษา พนักงานของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยสาขาสำนักงานใหญ่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ธนิสร วรฉัตรธาร
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลของการวางผังและออกแบบโครงการบ้านจัดสรรที่มีต่อผู้อยู่อาศัย : กรณีศึกษา โครงการบ้านสวนริมคลองบางมด และโครงการบ้านสวนริมคลองกรุงเทพกรีฑา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์; ปรีดิ์ บุรณศิริ
นฤมล สกุลสอน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ในการควบคุมงานก่อสร้างอาคารพักอาศัยของการเคหะแห่งชาติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
ปฏิภาน จิตรฐาน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การมีส่วนร่วมในการดำเนินงานบริหารจัดการชุมชนในโครงการบ้านเอื้ออาทร : กรณีศึกษาโครงการบ้านเอื้ออาทรพุทธมณฑล สาย 4 โครงการบ้านเอื้ออาทรพุทธมณฑล สาย 5 และโครงการบ้านเอื้ออาทรพุทธมณฑล สาย 5 (อ้อมน้อย) จังหวัดนครปฐม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
โสภาพร ร่มพูลทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ขนาดของห้องชุดพักอาศัยที่มีผลต่อการใช้สอยของผู้พักอาศัยในอาคารชุดระดับราคาปานกลาง บริเวณเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล กรณีศึกษา : โครงการ ลุมพินี วิลล์ พหล-สุทธิสาร โครงการลุมพินี วิลล์ รามอินทรา-หลักสี่ และโครงการลุมพินี วิลล์ ลาซาล-แบริ่ง ของ บริษัท แอลพีเอ็น ด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
มัลลิกา ฟักทองพันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงการอยู่อาศัยของชุมชนใกล้โครงการเมืองทองธานี แจ้งวัฒนะ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มานพ พงศทัต;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
สิวินีย์ ขาวมาก
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพที่พักอาศัย และการพักอาศัยของลูกจ้างแรงงานในกลุ่มโรงงานขนาดใหญ่ ในเขตอุตสาหกรรมสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุปรีชา หิรัญโร;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
สุภาวดี อนันฤทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพการอยู่อาศัยของผู้ขับขี่รถสามล้อถีบ : กรณีศึกษา ย่านชุมชนซอยวัดด่าน ต สำโรงเหนือ จ สมุทรปราการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ธนัสถ์ จังมงคลกาล
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพการอยู่อาศัยและสภาพสังคมของนักศึกษาในเขตเมืองนครปฐม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
อำนาจ สังข์ศรีแก้ว
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการการประสานประโยชน์ทางที่ดิน : กรณีศึกษาชุมชนเซ่งกี่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
ปริญญา มรรคสิริสุข
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการรื้อย้ายสำหรับโครงการฟื้นฟูเมืองชุมชนดินแดง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มานพ พงศทัต;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
นิพัท ทวนนวรัตน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การคงอยู่ของชุมชนพักอาศัยในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษา ชุมชนหลังวัดราชนัดดา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
เดือนเต็มดวง บุญคง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ขั้นตอนการให้บริการรับสร้างบ้านโดยบริษัทที่เป็นสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้านโดยบริษัทที่เป้นสมาชิกสมาคมธุรกิจรับสร้างบ้าน : กรณีศึกษา บริษัท รอแยล เฮ้าส์ จำกัด และบริษัทโฟร์พัฒนา จำกัด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มานพ พงศทัต;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ธนกาญจน์ ศรีเกษม
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาการของนโยบายการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยในชุมนนแออัดคลองเตย กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
วัชรพล ตั้งกอบลาภ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงที่อยู่อาศัยเป็นร้านค้าในเคหะชุมชน : กรณีศึกษา เคหะชุมชนสมุทรปราการ 1
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
อรุณ ดั่นคุณะกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการชุมชนแออัดประเภทเช่า กรณีชุมชนวัดช่องลม เขตยานนาวา / พงษ์ศักดิ์ บุญกล่อมจิตร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;ปรีดิ์ บุรณศิริ
พงษ์ศักดิ์ บุญกล่อมจิตร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการชุมชนแออัดประเภทบุกรุก กรณีชุมชนเชื้อเพลิงพัฒนา เขตยานนาวา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;ปรีดิ์ บุรณศิริ
สกนธ์ศุข มงคลสมัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการชุมชนที่อยู่อาศัยย่านวัดอนงคาราม ในที่ธรณีสงฆ์วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปรีดิ์ บุรณศิริ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ปิยวิทย์ วิภูศิริ
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบการอยู่อาศัยชุมชนไทยเชื้อสายมอญบางกระดี่ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์ ;อมรา พงศาพิชญ์
นพดล ฐิติพงษ์พานิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบกระบวนการปรับปรุงชุมชนที่อยู่อาศัยระหว่างชุมชนอาคารสงเคราะห์และชุมชนโรงงานสุรา ในเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ฤทธิพงศ์ เทียนดำ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การอยู่อาศัยหลังจากการย้ายชุมชนผู้มีรายได้น้อย จากแนวราบสู่แนวสูง : กรณีศึกษา ชุมชนอาคารทรัพย์สิน 26-7 เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ชวลิต นิตยะ
จูลี่ โรจน์นครินทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้พื้นที่ภายในหน่วยพักอาศัยอาคารสวัสดิการกองบัญชาการทหารสูงสุดในพื้นที่กรมการสื่อสารทหาร (ทุ่งสีกัน) ดอนเมือง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สุปรีชา หิรัญโร;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ลาวัณย์ จุลพัลลภ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การจัดการชุมชนที่อยู่อาศัยในที่ดินของวัดช่องนนทรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
สภาว์ รอดเรือง
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยชุมชนริมทางรถไฟจังหวัดนครราชสีมา : กรณีศึกษา การมีส่วนร่วมของชุมชนไบเล่ห์-หลังจวนผู้ว่าฯ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ณัฐพล อัศว์วิเศษศิวะกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
เกณฑ์การคัดเลือกผู้ได้รับสิทธิโครงการบ้านเอื้ออาทรกับความสามารถในการผ่อนชำระหนี้เพื่อที่อยู่อาศัย : กรณีศึกษา ลูกค้าโครงการบ้านเอื้ออาทร บางโฉลง 1 จังหวัดสมุทรปราการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
วิสุทธิดา นครชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
การอยู่อาศัยของผู้พิการและทุพพลภาพ : กรณีศึกษา ชุมชนบางตลาดพัฒนา 1 (ชุมชนปากด่าน) จังหวัดนนทบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สมเกียรติ ชิเนนทโรภาส ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
สมเกียรติ ชิเนนทโรภาส
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประสานประโยชน์ในโครงการพัฒนาประโยชน์เชิงพาณิชย์ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์: กรณีศึกษาพื้นที่สะพานขาวฝั่งเหนือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
กฤษฎี วงศ์เหลืองอ่อน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การศึกษาสภาพการอยู่อาศัยและปัญหาการอยู่อาศัยภายในอาคารสวัสดิการชั้นประทวน กองบัญชาการกองทัพไทย กรณีศึกษา : พื้นที่ทุ่งสีกัน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
คัทลียา รุ่งเรือง
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาการวิธีการจัดทำแผนพัฒนาที่อยู่อาศัยของการเคหะแห่งชาติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ณพลพัทธ์ เอี่ยวอ่องพัช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์แนวคิดโครงการบ้านมั่นคง ในการพัฒนาชุมชนที่อยู่อาศัยของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์: กรณีศึกษา ชุมชนในเขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ถิรวัฒน์ พิมพ์เวิน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความต้องการของเจ้าของเรือนในการปรับปรุงซ่อมแซมเรือนไทย ในพื้นที่โดยรอบตลาดน้ำอัมพวา อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ธรรมนูญ เลาห์ปิยะวิสุทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
รูปแบบธุรกิจการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ : กรณีศึกษา บริษัท แลนด์แอนด์เฮาส์ จำกัด (มหาชน) และ บริษัท พฤกษาเรียลเอสเตท จำกัด (มหาชน)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วรพงศ์ งามสิริมงคลชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ข้อจำกัดด้านกายภาพของหอพักและที่พักนักศึกษาโดยรอบมหาวิทยาลัยกับมาตรฐานตามพระราชบัญญัติหอพักพุทธศักราช 2558: กรณีศึกษา ที่พักบริเวณรอบมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วรัญญู สงวนสัจพงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการปรับประโยชน์ใช้สอยอาคารเก่าเพื่อเป็นศูนย์การค้า: กรณีศึกษาโครงการเอเชียทีค เดอะริเวอร์ฟร้อนท์ กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ศุภวรรณ โหมวานิช
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการโครงการอาคารเช่าของการเคหะแห่งชาติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
สลักจิต พรมสุวรรณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการการพัฒนาศูนย์การค้าแบบเปิดริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา กรณีศึกษา โครงการท่ามหาราช กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ปรียาบดี ศรีแหลมสิงห์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การทบทวนและพัฒนาเกณฑ์การประเมินศักยภาพทรัพย์สินรอการพัฒนาโครงการบ้านเอื้ออาทรของการเคหะแห่งชาติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
รัชฎาวรรณ กังเจริญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปลี่ยนแปลงกายภาพของหน่วยพักอาศัย การอยู่อาศัยและทัศนคติของผู้อยู่อาศัยในอาคารชุดพักอาศัยในบริเวณ ซอยอารีย์-พหลโยธิน ระหว่างปี 2530-2559 กรณีศึกษา อาคารชุดในซอยอารีย์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
แจ๊คกี้ แอน มานาโก เกียรติ์มนตรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทำเลที่ตั้งโครงการและพฤติกรรมการใช้บริการศูนย์การค้าประเภทคอมมูนิตี้ มอลล์ กรณีศึกษา เจ อเวนิว ทองหล่อ ซอย 15 และ ลาวิลล่า พหลโยธิน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วิทิตยา ยิ้มเมือง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิด บวร (บ้าน วัด โรงเรียน) และแนวคิดหน่วยชุมชนละแวกบ้าน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พรสรร วิเชียรประดิษฐ์;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
เกริดา โคตรชารี
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความต้องการและการจัดการพื้นที่จอดรถในโครงการอาคารพักอาศัยรวมประเภทเช่าในเขตดินแดง กรณีศึกษา โครงการ ยิ้มยิ้มเพลส เมโทรคาซ่า-เมโทรเพลส ทั่งทอง อพาร์ทเม้นต์ และ คิวทีเพลส
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ศรัณย์ วรรณพานิชย์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความแตกต่างระหว่างการพัฒนาที่พักประเภทโฮสเทลที่มีแนวคิดเชิงธุรกิจกับที่มีแนวคิดธุรกิจเกื้อกูลในเขตเมืองเก่ากรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา โครงการ เฮีย โฮสเทล และ วันซ์ อะเกน โฮสเทล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วนารัตน์ อิ้มพัฒน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการมีส่วนร่วมในการศึกษาความต้องการของผู้อยู่อาศัยในการปรับปรุงฟื้นฟูที่อยู่อาศัยและชุมชนของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ในย่านเมืองเก่ากรุงเทพมหานคร : กรณีศึกษา ชุมชนบริเวณสี่แยกแม้นศรี เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
มนสิชา ศรีบุญเพ็ง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การบริหารความปลอดภัยของอาคารชุดพักอาศัย กรณีศึกษา โครงการที่ได้รับรางวัล อาคารที่มีความโดดเด่นด้านการบริหารความปลอดภัยอาคาร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ไตรวัฒน์ วิรยศิริ
โสภิตา ตั้งเกียรติกำจาย
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางในการพัฒนาลักษณะทางกายภาพของโรงแรมเชิงวัฒนธรรม กรณีศึกษาโรงแรมรติล้านนา ริเวอร์ไซด์ สปา รีสอร์ท และโรงแรมแทมมารีน วิลเลจ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
จุรณิตา เอกภักดิ์สกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อองค์ประกอบของการพัฒนาพื้นที่โซน B ในโครงการพัฒนาพื้นที่ 10 ไร่คลองไผ่สิงโต ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
จักราวุฒิ รุ่งโรจน์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยด้านทำเลที่ตั้งของโครงการอาคารชุดพักอาศัยที่มีผลต่อราคาขาย กรณีศึกษาอาคารชุดพักอาศัยที่ตั้งในบริเวณตามเส้นทางรถไฟฟ้าบีทีเอส สถานีสยามถึงสถานีแบริ่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;บุญยิ่ง คงอาชาภัทร
พิโรดม พิริยพฤทธิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การปรับปรุงกายภาพของพื้นที่ส่วนกลางและการบริหารจัดการโครงการอาคารชุดตามกลยุทธ์ \"ชุมชนน่าอยู่สำหรับคนทุกวัย\" : กรณีศึกษา ลุมพินีเพลส พระราม 3 ริเวอร์วิว , ลุมพินีเพลส นราธิวาสเจ้าพระยา , ลุมพินีเพลส พระราม 8 , ลุมพินีเพลส พระราม 9 รัชดา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ศิริรัตน์ รามรินทร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การเปรียบเทียบทัศนคติของผู้อยู่อาศัยต่อการวางผังห้องชุดพักอาศัยราคาปานกลาง 4 รูปแบบ: กรณีศึกษา โครงการลุมพินีเพลส รัชดา-ท่าพระ, แอสปาย สาธร-ท่าพระ, เดอะ คีย์ วุฒากาศ และไอดีโอ เอส115
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;วรรณภา พิมพ์วิริยะกุล
กาลัญญู สิปิยารักษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาการการก่อสร้างที่อยู่อาศัยด้วยระบบชิ้นส่วนสำเร็จรูปของการเคหะแห่งชาติ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ปรีดิ์ บุรณศิริ
วิวัฒน์ เชาวน์เรศ
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพการอยู่อาศัยในอาคารพาณิชย์พักอาศัยตามแนวถนนสายหลักของเมือง : กรณีศึกษา ถนนเอกชัย จังหวัดสมุทรสาคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ชินดนัย เลาหกิจวิฑูร
วิทยานิพนธ์/Thesis
สภาพการอยู่อาศัยของแรงงานในสถานประกอบการอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารและประมงขนาดใหญ่ในเขตเทศบาลนครสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
สิรินทร นรินทร์ศิลป์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ประสิทธิภาพการใช้ที่ดินของเกษตรกรในโครงการนิคมเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;ธัญศิภรณ์ จันทร์หอม
กษมา วงษ์สนอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ทัศนคติและความพึงพอใจของผู้อยู่อาศัยเจเนอเรชั่นวายต่อพื้นที่ส่วนกลางด้านนันทนาการในอาคารชุด กรณีศึกษา บริษัท แอล.พี.เอ็น.ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;พัศพันธน์ ชาญวสุนันท์
ธัญญ์นารี ชัยชาญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาโครงการอาคารชุดระดับราคาสูง ในเขตกรุงเทพมหานครของ บริษัท แสนสิริ จำกัด (มหาชน) ระหว่างปี พ.ศ. 2550-2560
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;บุญยิ่ง คงอาชาภัทร
ธัญลักษณ์ พุ่มมาก
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาการการวางผังและออกแบบพื้นที่เปิดโล่งในโครงการที่อยู่อาศัยของ HDB สิงคโปร์ ระหว่างค.ศ.1960-2018
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วรรณชนก บุญชำนาญ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การติดตามผลการดำเนินงานโครงการบ้านประชารัฐบนที่ดินราชพัสดุ : กรณีศึกษา โครงการบ้านธนารักษ์ประชารัฐ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ศิฬินภา ศิริสานต์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการบ้านเอื้ออาทรตามความร่วมมือระหว่างกรมธนารักษ์กับการเคหะแห่งชาติ : กรณีศึกษาบ้านเอื้ออาทรสำหรับข้าราชการและลูกจ้างกองทัพเรือ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ชัยสิทธิ์ ทิพางค์กุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การกำหนดขนาดเริ่มต้นที่เล็กที่สุดของที่อยู่อาศัยโดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนศิริอำมาตย์ เขตพระนคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ราชัย บรรพพงศ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลการดำเนินงานตามนโยบายที่อยู่อาศัยสำหรับผู้มีรายได้น้อย : กรณีศึกษาโครงการบ้านเอื้ออาทร กับโครงการบ้านบีโอไอ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
มานพ พงศทัต;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ภาณุ แสงดีจริง
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผู้อยู่อาศัยกับโอกาสในการพัฒนาที่ดินราชพัสดุชุมชนซอยพิพัฒน์ 2 เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;มานพ พงศทัต;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
อมรรัตน์ กล่ำพลบ
วิทยานิพนธ์/Thesis
พัฒนาการของการต่อเติมที่อยู่อาศัยแบบสร้างบางส่วน : กรณีศึกษา ที่อยู่อาศัยแบบ A ในโครงการเมืองใหม่บางพลี จังหวัดสมุทรปราการ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชวลิต นิตยะ;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
วรชาติ แก้วคำฟู
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาสวนสัตว์ตามมาตรฐานสมาคมสวนสัตว์และสถานแสดงพันธุ์สัตว์น้ำโลก : บทเรียนเพื่อสวนสัตว์แห่งชาติของประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ภัทรศิต ทั่งทอง
วิทยานิพนธ์/Thesis
การประยุกต์ใช้เบอร์โทด์โมเดลในการวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนโครงการจัดสรรที่ดินที่มีรูปแบบการวางผังแตกต่างกัน: กรณีศึกษา โครงการจัดสรรที่ดินในอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
โชติรัตน์ สว่างวงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
6 ทศวรรษของการพัฒนาเมืองใหม่และที่อยู่อาศัยในสิงคโปร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;พรสรร วิเชียรประดิษฐ
มณฑมาศ สวัสดิ์ธนาคูณ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนาที่พักประเภทโรงแรมในอุตสาหกรรมไมซ์ (MICE) ภายใต้แนวคิดท้องถิ่นนิยม (Localization): กรณีศึกษา ฮอริซัน วิลเลจ รีสอร์ต จังหวัดเชียงใหม่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ปรัชกร วันทา
วิทยานิพนธ์/Thesis
การใช้พื้นที่ภายในบ้านและชุมชนก่อนและหลังกระบวนการบ้านมั่นคง : กรณีศึกษาโครงการบ้านมั่นคงไทยมุสลิมสามัคคี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
พิมพ์กนก รินชะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
คุณลักษณะของที่พักนักท่องเที่ยว ประเภทรีสอร์ท ที่สอดคล้องกับพื้นที่สวนยกร่อง อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร
พงศ์พัฒน์ สัตยาพันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ศักยภาพของชุมชนในการพัฒนาชุมชนตามแผนผังแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนากรุงรัตนโกสินทร์ : กรณีศึกษา ชุมชนท่าเตียน กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
เขตนคร อภิเดชไพศาล
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยด้านทำเลที่ตั้งที่มีผลต่อราคาขายอาคารชุด ตามแนวรถไฟฟ้าในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษา รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงินส่วนต่อขยาย รถไฟฟ้าสายสีลมส่วนต่อขยาย และรถไฟฟ้าสายสีทอง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;บุญยิ่ง คงอาชาภัทร
ชินปัญชร์ สุวรรณศรี
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาชุมชนและที่อยู่อาศัยในเมืองเก่าเชียงใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดย่านนวัตกรรมสร้างสรรค์ ภายใต้แผนพัฒนาเมืองอัจฉริยะ : กรณีศึกษาชุมชนล่ามช้าง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
กัญชุดา เพ็ญไชยา
วิทยานิพนธ์/Thesis
แนวทางการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ประเภทเกสต์เฮ้าส์ในย่านเมืองเก่าภูเก็ต
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;วาริชา วงศ์พยัต
ณัฐติกา สุวคันธ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กระบวนการพัฒนาโรงแรมภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : กรณีศึกษา บ้านริมแคว แพริมน้ำ รีสอร์ท จ.กาญจนบุรี
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;วาริชา วงศ์พยัต
อรุณวรรณ ปราบพาล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวางผังอาคารและลักษณะพื้นที่ว่างระหว่างอาคารในโครงการอาคารชุดพักอาศัยแนวราบในเขต กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
ปริยากร พิมานแมน
วิทยานิพนธ์/Thesis
ติดตามผลที่ผู้อยู่อาศัยได้รับจากบ้านประหยัดพลังงานในโครงการบ้านจัดสรร กรณีศึกษาโครงการเสนาปาร์ค วิลล์ และโครงการเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา วงแหวน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์;อรรจน์ เศรษฐบุตร
มัลลิกา มงคลรังสฤษฎ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนรูปแบบทางสถาปัตยกรรมโครงการบ้านจัดสรรประเภทบ้านเดี่ยว ระหว่างปี พ.ศ.2559-2565 กรณีศึกษา 4 บริษัทมหาชนจำกัด
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
พรชัย ประสงค์ฉัตรชัย
วิทยานิพนธ์/Thesis
บทเรียนจากกระบวนการจัดการชุมชนผู้มีรายได้น้อยเมื่อเกิดวิกฤติโควิด-19 : กรณีศึกษา ชุมชนบ้านครัว เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
กุณฑลทิพย พานิชภักดิ์
กัญจนวรินทร์ ธรรมานวัตร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 43
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 3,295
รวม 3,338 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 96,576 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 100 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 72 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 18 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 18 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 14 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 96,801 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.133
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.180