แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

Thai and Vietnamese university students' language learning strategies
กลวิธีการเรียนภาษาของนักศึกษาไทยกับเวียดนาม

ThaSH: English language -- Study and teaching -- Thaialnd
ThaSH: English language -- Study and teaching -- Vietnam
ThaSH: Learning strategies -- Thaialnd
ThaSH: Learning strategies -- Vietnam
ThaSH: Students -- Thaialnd
ThaSH: Students -- Vietnam
Abstract: To investigate language learning strategies used by Thai and Vietnmese university students, to compare the use of the strategies by the two groups of students, and to study the influence of gender, motivation, and experience in studying English on their choice of the language learning strategies. The participants are 84 Thai and 52 Vietnamese first or second-year students at Chulalongkorn University, Thailand, and The University of Social Science and Humanities, Hanoi, Vietnam. The Strategy Inventory for Language Learning (SILL) developed by Oxford (1990) and semi-structured interviews are used as research instruments. Descriptive and inferential statistics are used to determine the rank of the strategies chosen and the relationship between the three variables and the choices of language learning strategies. The results of the analysis reveal that Thai students used compensation most, followed by cognitive, metacognitive, social, affective and memory strategy categories, respectively. As for Vietnamese students, the most frequently used strategy category is compensation, followed by social, metacognitive, affective, cognitive, and memory categories. The similarity of these two groups of students is that they use compensation category most, and memory category least. Concerning individual strategy, it is found that Thai students tend to guess meanings of unfamiliar words, use circumlocutions or synonyms, use glossaries or dictionaries, whereas Vietnamese students tend to encourage themselves to try harder, and pay attention when someone is speaking. The study also shows that motivation is the most significant factor factor affecting the choice of the strategies, followed by experience in studying English. Gender is the least significant factor. Furthermore, the analysis also shows that lowly-motivated and inexperienced Thai female students tend to use the six strategy categories less than their Vietnamese counterparts. The results of the study are useful particularly to educational planners, methodologists, and classroom teachers; they not only help them understand the strategies used by Thai students in learning English better, but also facilitate the process of improving English education in Thailand.
Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการคือ 1) สำรวจการใช้กลวิธีการเรียนภาษาประเภทต่างๆ ของนักศึกษาไทยกับนักศึกษาเวียดนาม 2) เปรียบเทียบการใช้กลวิธีของนักศึกษาทั้งสองประเทศ และ 3) ศึกษาอิทธิพลของเพศ แรงจูงใจในการเรียน และประสบการณ์การเรียนภาษาอังกฤษ ต่อการเลือกกลวิธีการเรียนภาษาของนักศึกษาทั้งสองกลุ่ม กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตชั้นปีที่ 1 และ 2 จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 84 คน และนักศึกษามหาวิทยาลัยสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ เวียดนาม จำนวน 52 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับกลวิธีการเรียนภาษา ซึ่งมีชื่อว่า Strategy Inventory for Language Learning (SILL) ของ Oxford (1990) และการสัมภาษณ์เกี่ยวกับกลวิธีที่ใช้การเรียนภาษาอังกฤษ ทั้งนี้ข้อมูลทั้งหมดจากแบบสอบถาม ถูกนำมาวิเคราะห์ด้วยการหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ t-test เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของการใช้กลวิธีการเรียนกับตัวแปรทั้งสามประเภท ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาไทยใช้กลวิธีชดเชย ในการเรียนภาษาอังกฤษมากที่สุด รองลงมาคือ กลวิธีปริชาน กลวิธีอภิปริชาน กลวิธีสังคม กลวิธีจิตวิสัย และกลวิธีความจำ ตามลำดับ สำหรับนักศึกษาเวียดนามพบว่ากลวิธีที่ใช้ในการเรียนภาษาอังกฤษมากที่สุดคือ กลวิธีชดเชย รองลงมาคือ กลวิธีสังคม กลวิธีอภิปริชาน กลวิธีจิตวิสัย กลวิธีปริชาน และที่น้อยที่สุดคือ กลวิธีความจำ ทั้งนี้นักศึกษาทั้งสองกลุ่มมีความเหมือนกันในเรื่องการใช้กลวิธีชดเชยมากที่สุด และกลวิธีความจำน้อยที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่านักศึกษาไทยมักใช้การเดาความหมายของคำที่ไม่คุ้นเคย ใช้บริบท ใช้คำที่มีความหมายเหมือนแทน และใช้พจนานุกรมในการเรียนภาษาอังกฤษ ส่วนนักศึกษาเวียดนามมักใช้กลวิธีการให้กำลังใจตัวเองเพื่อให้พยายามมากขึ้น และการเอาใจใส่เมื่อผู้พูดกำลังพูด เกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกกลวิธีการเรียนภาษาอังกฤษ พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดคือ แรงจูงใจในการเรียน รองลงมาคือ ประสบการณ์การเรียนภาษาอังกฤษ และเพศ เมื่อเปรียบเทียบระหว่างประเทศ ผลการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่า นักศึกษาเพศหญิงของไทย โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในกลุ่มที่มีแรงจูงใจในการเรียนน้อย และมีประสบการณ์ในการเรียนภาษาอังกฤษน้อย มีแนวโน้มใช้กลวิธีการเรียนภาษาประเภทต่างๆ น้อยกว่านักศึกษาเวียดนามในกลุ่มดังกล่าว ผลของงานวิจัยครั้งนี้ไม่เพียงแต่ช่วยให้นักวางแผนการศึกษา ครู และอาจารย์เข้าใจกลวิธีการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาไทยมากขึ้น แต่ยังให้แนวทางในการปรับปรุงการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทยอีกด้วย
Chulalongkorn University. Center of Academic Resources
Address: BANGKOK
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: Advisor
Created: 2006
Modified: 2010-12-01
Issued: 2010-12-01
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
eng
DegreeName: Master of Arts
©copyrights Chulalongkorn University
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 Attapol_Kh.pdf 2.38 MB331 2025-03-27 12:42:35
ใช้เวลา
-0.962624 วินาที

Attapol Khamkhien
Title Contributor Type
Thai and Vietnamese university students' language learning strategies
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Attapol Khamkhien
Amara Prasithrathsint
วิทยานิพนธ์/Thesis
Amara Prasithrathsint
Title Creator Type and Date Create
Features of contemporary Thai narrative texts and their relation to Thai cultural characteristics
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Schalbruch, Martin
วิทยานิพนธ์/Thesis
Pictures of Thailand as reflected in Haiku written by Japanese in Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint;Saowalak Suriyawongpaisal
Yashiko Yamamoto
วิทยานิพนธ์/Thesis
Thai and Vietnamese university students' language learning strategies
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Attapol Khamkhien
วิทยานิพนธ์/Thesis
The syntax and lexicon of thai pidgin english in phuket
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Nicha Tovankasame
วิทยานิพนธ์/Thesis
Internationalization of Thai silk
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Varinya Puranitee
วิทยานิพนธ์/Thesis
Mandarin speakers’ difficulties with spatial prepositions in English and their conceptualization of spatial relations
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Amara Prasithrathsint
Chang Chuan-Chi
วิทยานิพนธ์/Thesis
Discourse on the Khmers in contemporary Thai fiction
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;Amara Prasithrathsint
Narongdej Phanthaphoommee
วิทยานิพนธ์/Thesis
ON- GOING CHANGE OF THE PERSONAL PRONOUN SYSTEM IN TAI LUE SPOKEN IN THAILAND, THE LAO PEOPLE'S DEMOCRATIC REPUBLIC AND THE PEOPLE'S REPUBLIC OF CHINA
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint;Thom Huebner
Kittinata Rhekhalilit
วิทยานิพนธ์/Thesis
THE SYSTEM AND PROMOTION OF TEACHING AND LEARNING GERMAN IN THAILAND AND MALAYSIA
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Yap Lian Chee
วิทยานิพนธ์/Thesis
THE EXPANSION OF JAPANESE RESTAURANT INDUSTRY IN BANGKOK
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Mizue Miyamoto
วิทยานิพนธ์/Thesis
HANBAN CONFUCIUS CLASSROOMS AND THE LEARNING OF CHINESE LANGUAGE AND CULTURE IN THAI SCHOOLS
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Jiaqi Song
วิทยานิพนธ์/Thesis
HANUMAN IN SAK YANT : THE SIGNIFICANCE AND INFLUENCE OF HANUMAN IMAGERY IN NORTHERN THAI CULTURE
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Alex Ethan Martin
วิทยานิพนธ์/Thesis
Khmer-thai people\'s attitudes and motivations in studing standard khmer in changwat surin
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint;Carina Chotirawe
Kunthy Seng
วิทยานิพนธ์/Thesis
Spelling errors in Thai made by Chinese and Lao students speaking Thai as a foreign language
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Peng Hou
วิทยานิพนธ์/Thesis
The awareness of mandarin and the maintenance of Yunnan dialect of Chinese among Chinese Thais in Lat Krabang, Bangkok
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Xiaoshan Du
วิทยานิพนธ์/Thesis
Secret language of the Thai blind
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Weerachai Umpornpaiboon
วิทยานิพนธ์/Thesis
Relationship between the social variation of (r) in Thai and (r) in English in the speech of Bangkok Thai Speakers
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint;Sudaporn Luksaneeyanawin
Boonruang Chunsuvimol
วิทยานิพนธ์/Thesis
The promotion of French language and culture by alliance Française in Bangkok, Thailand
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Shu-chin Huang
วิทยานิพนธ์/Thesis
Bribes and Merits: Exchange Mechanisms in Thai society
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Amara Prasithrathsint
Enrico Bargnani
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 23
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,864
รวม 2,887 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 98,267 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 190 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 163 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 24 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 14 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสงฆ์ = 1 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 1 ครั้ง
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ = 1 ครั้ง
รวม 98,663 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48