แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

การวิเคราะห์อุปสงค์ของการศึกษาหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาตรีในประเทศไทย
An analysis of demand for international undergraduate programs in Thailand

ThaSH: การศึกษานานาชาติ -- ไทย -- หลักสูตร
ThaSH: อุปสงค์
Abstract: วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอุปสงค์และปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์ ความสามารถของสถาบันการศึกษาในการตอบสนองต่ออุปสงค์ และแนวทางการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาตรีในประเทศไทย โดยการวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์ใช้แบบจำลอง Logit ส่วนการวิเคราะห์ประเด็นอื่นใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา ซึ่งข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาได้มาจาก (1) แบบสอบถามของนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่ศึกษาหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาตรีในประเทศไทยจำนวน 371 คน และ 357 คนตามลำดับ และจากนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่ศึกษาหลักสูตรปกติระดับปริญญาตรีในประเทศไทยและต่างประเทศจำนวน 359 คน และ 362 คนตามลำดับ (2) การสัมภาษณ์ความคิดเห็นของผู้บริหารหลักสูตรนานาชาติจำนวน 8 ท่าน และ (3) การสัมภาษณ์ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญจำนวน 15 ท่าน ผลการวิจัยพบว่านักศึกษาที่ศึกษาหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาตรีในสาขาบริหารธุรกิจ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการโรงแรมและการท่องเที่ยวในประเทศไทย ร้อยละ 83.8 เป็นนักศึกษาไทย นักศึกษาต่างชาติมีเพียงร้อยละ 16.2 นักศึกษาส่วนใหญ่เลือกศึกษาสาขาบริหารธุรกิจมากที่สุด (ร้อยละ 88.4) รองลงมาคือคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (ร้อยละ 5.9) และการโรงแรมและการท่องเที่ยว (ร้อยละ 5.7) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่ออุปสงค์ของในการเลือกศึกษาหลักสูตรนานาชาติเรียงตามลำดับความสำคัญ คือ ความมีชื่อเสียง คุณภาพและมาตรฐานทางการศึกษาของสถาบัน รายได้ที่คาดว่าจะได้รับในอนาคตจากการทำงาน การสนับสนุนของบิดามารดา ประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาต่อหลักสูตรนานาชาติ โอกาสในการมีงานทำ ค่าใช้จ่ายในการศึกษาหลักสูตรนานาชาติ และรายได้ของบิดามารดา/ผู้ปกครอง ตามลำดับ สำหรับการตอบสนองต่ออุปสงค์ทั้ง 3 สาขาวิชา มหาวิทยาลัยส่วนใหญ่ เน้นด้านการเรียนการสอน บริการทางการศึกษา การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานทางการศึกษา แต่เนื่องจากมีต้นทุนในการจัดการสูง และไม่สามารถจัดสรรทุนการศึกษาให้เพียงพอกับความต้องการที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก จึงทำให้จำนวนอาจารย์และนักศึกษาชาวต่างชาติเพิ่มแบบค่อยเป็นค่อยไป ดังนั้น แนวทางการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาตรีในประเทศไทยเพื่อให้สามารถแข่งขันกับหลักสูตรนานาชาติในต่างประเทศ สถาบันการศึกษาจำเป็นต้องเน้นการพัฒนาคุณภาพ มาตรฐานทางการศึกษา ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถและสอดคล้องกับความต้องการกำลังและตลาดแรงงาน ส่งเสริมและจัดให้มีกิจกรรมที่นักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติสามารถแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมและประสบการณ์ซึ่งกันและกัน และเก็บค่าเล่าเรียนและค่าธรรมเนียมการเรียนที่เหมาะสมไม่สูงมากจนเกินไป
Abstract: The objectives of this research were to study the demand and factors affecting demand for the international undergraduate programs; the response of educational institutions to demand for the international undergraduate programs; and direction of the international undergraduate programs in Thailand. The logit model was used for studying factors affecting demand for the international undergraduate programs, while the response of educational institutions to demand for the international undergraduate programs and direction of development of the international undergraduate programs were based on descriptive statistics and content analysis. Data used in this study were obtained from (1) questionnaires completed by 371 Thai students and 357 foreign students in the international undergraduate programs in Thailand, and 359 Thai students and 362 foreign students who had chosen to study in the native language undergraduate programs in Thailand or in their home countries; (2) interviewing 8 executive administrators of international undergraduate programs, and (3) interviewing 15 experts in international education programs and national education development policies. The findings indicated that 83.8% of the international undergraduate program students in Business Administration, Computer Science and Information Technology, Hotel and Tourism in Thailand are Thai, whereas only 16.2% of them are foreign students. Most of students were in the field of Business Administration (88.4%), followed by Computer Science and Information Technology (5.9%) and Hotel and Tourism (5.7%), respectively. Factors affecting demand for of international undergraduate programs are reputation, quality and standard of educational institution, expected income, family support, experience from international program job opportunity, educational expense, and family income, respectively. Most of universities responded to the demand for studying these 3 fields by emphasizing on improvement in teaching, educational services, quality and standard of the international program. However, the high operating costs and the limited number of scholarships hindered the expansion of international undergraduate programs. Thus, the number of foreign academic staff and students gradually increased. For the development of the international undergraduate program in Thailand to compete with other countries, the educational institutions have to improve educational quality and standard, to supply able graduates in accordance with the manpower requirement and labor market, to promote cultural exchange and experience activities, and to charge the tuition and fees at the appropriate rate.
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิทยบริการ
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: cuir@car.chula.ac.th
Role: ที่ปรึกษา
Role: ที่ปรึกษา
Created: 2549
Modified: 2553-10-23
Issued: 2553-10-23
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
tha
©copyrights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 saovapak.pdf 2.64 MB318 2024-08-23 21:55:31
ใช้เวลา
0.020478 วินาที

พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์
Title Creator Type and Date Create
การวิเคราะห์อุปสงค์ของการศึกษาหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาตรีในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
เสาวภาคย์ วัฒนวิเชียร
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;ชญาพิมพ์ อุสาโห
ดำรงค์ ศรีอร่าม
วิทยานิพนธ์/Thesis
กลยุทธ์การบริหารคนเก่งและองค์การสมรรถนะสูงสำหรับโรงเรียนมัธยมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;ปิยพงษ์ สุเมตติกุล
รับขวัญ ภูษาแก้ว
วิทยานิพนธ์/Thesis
กลยุทธ์การบริหารเพื่อเสริมสร้างพลังอำนาจของครูในโรงเรียนประถมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;วลัยพร ศิริภิรมย์
สุมาลี สุธีกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนเพื่อสร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;ชญาพิมพ์ อุสาโห
ณิชา ฉิมทองดี
วิทยานิพนธ์/Thesis
กลยุทธ์การบริหารห้องสมุดมหาวิทยาลัยเพื่อเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของนิสิตนักศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;ปิยพงษ์ สุเมตติกุล
สุบิน ไชยยะ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนสองระบบสำหรับราชอาณาจักรกัมพูชา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;ปิยพงษ์ สุเมตติกุล
เซียง เป็ก
วิทยานิพนธ์/Thesis
ฟังก์ชั่นการผลิตทางการศึกษาและการจัดสรรทรัพยากรของโรงเรียนประถมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
บุณฑริกา บูลภักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์กระบวนการเรียนรู้กิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ในชุมชนที่ใช้แนวทางการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;อมรวิชช์ นาครทรรพ
สมศรี จินะวงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนอาชีวศึกษาตามแนวคิดการเสริมสร้างค่านิยมในการทำงาน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;สืบสกุล นรินทรางกูร ณ อยุธยา
เกริกก้อง มังคละพฤกษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
กลยุทธ์การบริหารเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้จากการปฏิบัติของอาจารย์ในสถาบันการศึกษาพยาบาล
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
วลัยพร ศิริภิรมย์ ;พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์
รุจิรา สืบสุข
บทความ/Article
พิษเณศ เจษฎาฉัตร
Title Creator Type and Date Create
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตบัณฑิตระดับอุดมศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อสัมภิณพงศ์ ฉัตราคม;พิษเณศ เจษฎาฉัตร;อำพล ทิมาสาร
ยุรพร อนุเคราะห์กูล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ผลของเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาที่มีต่อความเสมอภาคในโอกาสทางการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
จรูญศรี มาดิลกโกวิท
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ต้นทุนและทางเลือกในการลดต้นทุน สำหรับโปรแกรมระดับปริญญาตรีของคณะครุศาสตร์/คณะศึกษาศาสตร์ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
จรรยาภรณ์ พานิชเจริญนาม
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์อุปสงค์ของการศึกษาหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาตรีในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
เสาวภาคย์ วัฒนวิเชียร
วิทยานิพนธ์/Thesis
อุปสงค์ต่อการศึกษาระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย พ.ศ. 2520-2550
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พิษเณศ เจษฎาฉัตร
ศศิมา แชประเสริฐ
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์อัตราผลตอบแทนในการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาศิลปศาสตร์และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ของวิทยาลัยครูในสหวิทยาลัยล้านนา
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อรวรรณ ตัณฑ์เจริญรัตน์;ธำรงค์ อุดมไพจิตรกุล;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
ประพันธ์ ธรรมไชย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเข้าสู่ตลาดแรงงานของเด็กในเขตชนบทจังหวัดบุรีรัมย์
มหาวิทยาลัยมหิดล
เนาวรัตน์ พลายน้อย;นงลักษณ์ วิรัชชัย;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
สุเทพ บุญซ้อน
วิทยานิพนธ์/Thesis
การย้ายถิ่นออกของหัวหน้าครัวเรือนและผลสืบเนื่องที่มีต่อการตัดสินใจทางเศรษฐกิจภายในครัวเรือนของผู้หญิง
มหาวิทยาลัยมหิดล
เนาวรัตน์ พลายน้อย;อภิชาติ จำรัสฤทธิรงค์;พงษ์สวัสดิ์ สวัสดิพงษ์;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
ประภาพรรณ อุ่นอบ
วิทยานิพนธ์/Thesis
อัตราผลตอบแทนจากการรับรู้ในการศึกษาต่อสายอาชีวะและสายสามัญ ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดเชียงราย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
นันท์ปพร มหาไม้
วิทยานิพนธ์/Thesis
ฟังก์ชั่นการผลิตทางการศึกษาและการจัดสรรทรัพยากรของโรงเรียนประถมศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ ;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
บุณฑริกา บูลภักดิ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ต้นทุนและทางเลือกในการลดต้นทุนโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
วิลาวัณย์ ตันวัฒนะพงษ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
ปัจจัยที่เป็นตัวกำหนดอุปสงค์ที่มีต่อการเรียนกวดวิชา และความสำเร็จในการสอบเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
ประภาภรณ์ เจริญกุล
วิทยานิพนธ์/Thesis
การทดสอบทฤษฎีทุนมนุษย์ : กรณีศึกษาอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูปในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พิษเณศ เจษฎาฉัตร
สุลีวรรณ ยิ้มพยัคฆ์
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์การกระจายทรัพยากรการเงินเพื่อการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
แสงสุรีย์ ดวงคำน้อย
วิทยานิพนธ์/Thesis
ผลกระทบทางเศรษฐกิจของนโยบายอ้อยและน้ำตาลหลังจากพระราชบัญญัติอ้อยและน้ำตาลทราย พ.ศ.2527
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
ฆะฏะนาวดี โกสุมบงกช
วิทยานิพนธ์/Thesis
การวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยภาวะเจริญพันธุ์ในประเทศไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
;พิษเณศ เจษฎาฉัตร
ปาลิดา นันท์เดชขจร
วิทยานิพนธ์/Thesis
อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในการศึกษา กรณีศึกษาผู้จบปริญญาโทสาขาบริหารธุรกิจจากมหาวิทยาลัยภายในประเทศ และมหาวิทยาลัยภายในสหรัฐอเมริกา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พิษเณศ เจษฎาฉัตร
วราพรรณ มีเฟื่องศาสตร์
วิทยานิพนธ์/Thesis
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 14
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 2,442
รวม 2,456 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 154,051 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 1,613 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 71 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล = 52 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 7 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 3 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 1 ครั้ง
รวม 155,798 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.132
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.208