แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

รายงานการวิจัยทิศทางการเตรียมความพร้อมเส้นทางการท่องเที่ยวในกลุ่มพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตอนใต้ในเขตประเทศไทย
ทิศทางการเตรียมความพร้อมเส้นทางการท่องเที่ยวในกลุ่มพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตอนใต้ในเขตประเทศไทย
The direction of preparation of tourism routes in the southern economic development area in Thailand

Organization : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. คณะบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ
Email : watcharaporn.s@bas.kmutnb.ac.th

Organization : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. คณะบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ
Email : pannanat.s@bas.kmutnb.ac.th
ThaSH: นักท่องเที่ยว -- ไทย -- ทัศนคติ
Classification :.LCCS: G155.T5
keyword: การจัดเส้นทางท่องเที่ยว
ThaSH: ความพอใจของผู้บริโภค
ThaSH: การท่องเที่ยว -- แง่เศรษฐกิจ -- ไทย
ThaSH: การท่องเที่ยวแบบยั่งยืน
ThaSH: การท่องเที่ยว -- การวางแผน
ThaSH: การเลือกเส้นทาง
Abstract: การศึกษาวิจัยเรื่อง แนวทางการตลาดเพื่อการจัดการการท่องเที่ยวของพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตอนใต้ในเขตประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาเยือนในพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตอนใต้ เขตประเทศไทย และวิเคราะห์แนวทางการตลาดเพื่อการจัดการท่องเที่ยวของพื้นที่ดำเนินการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ จากการรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) คือ สุ่มจากนักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในพื้นที่ 8 จังหวัด ได้แก่ ฉะเชิงเทราปราจีนบุรี สระแก้ว ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ตราด และกาญจนบุรี โดยเลือกพื้นที่จากแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงเป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว จำนวน 3 แห่งในแต่ละจังหวัด ต่อจากนั้นเลือกเก็บตัวอย่างตามสะดวก(Convenience Sampling) เก็บแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน และข้อมูลทุติยภูมิ ได้ดำเนินการค้นคว้า เอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อวิเคราะห์แนวทางการตลาดเพื่อการจัดการการท่องเที่ยวของพื้นที่โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษา ผู้ตอบแบบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 70.50 มีอายุอยู่ระหว่าง 24 – 37 ปี มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 54.30 มีรายได้มากกว่า 20,000 บาทขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 30.50 การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 63.25 นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เดินทางร่วมกับครอบครัวมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 31.75 เดินทางโดยรถยนต์มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 55.50 และพบพฤติกรรมการใช้จ่ายค่าอาหารมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 50.25 สำหรับผลการศึกษาด้านความต้องการของกลุ่มตัวอย่าง พบความต้องการของนักท่องเที่ยวด้านคุณค่ามากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.20 รองลงมาคือ ด้านประสบการณ์ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.07 ด้านการเข้าถึงลูกค้า ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.02 และด้านด้านความจงรักภักดี มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.92 พบว่าอยู่ในระดับมาก ตามลำดับ ด้านผลการวิเคราะห์แนวทางการตลาดเพื่อการจัดการการท่องเที่ยวในพื้นที่ ได้วิเคราะห์แนวทางการจัดการด้านประสบการณ์ คือ รูปแบบเส้นทางเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวของ 8 พื้นที่ ได้แก่ เส้นทางท่องเที่ยว Deeper Friendships, Diet Healthier และ Detox Retreats สำหรับด้านคุณค่า ควรมีแนวทางจัดการการท่องเที่ยวสีเขียว การสร้างภาพลักษณ์การให้บริการในด้านการเข้าถึงลูกค้า ควรมีแนวทางที่อำนวยความสะดวกผ่านระบบออนไลน์ ทั้งก่อน – ระหว่าง – หลัง การเดินทางท่องเที่ยว และแนวทางด้านความจงรักภักดี ควรให้ความสำคัญต่อการสร้างความสัมพันธ์นักท่องเที่ยวเพื่อให้เกิดการมาเยือนในพื้นที่ซ้ำ
Abstract: A research study to marketing approach for Tourism Management of Southern Economic Corridor: SEC in Thailand. The objective was to study the demand of Thai tourists visiting of Southern Economic Corridor: SEC in Thailand and analyze the marketing approach for tourism management. The research used perform primary data collection with questionnaires by Cluster Sampling which was random from tourists visiting 8 provinces such as Chachoengsao, Prachinburi, Sakaeo, Chonburi, Rayong, Chanthaburi, Trat, and Kanchanaburi. By choosing the area from famous tourist attractions popular with tourists. There are 3 locations in each province and choose a non- probability sampling method (Convenience sampling). The research collected questionnaires from a sample of 400 people. The research has conducted secondary data and relevant documents to analyze the marketing approach to tourism management to determine the presence of certain words, themes, or concepts within some given qualitative data (Content analysis). Aiming to the research, the majority of respondents were female, accounting for 70.50%. Those aged between 24 and 37 years old (54.30%) earn more than 20,000 baht or 30.50%. Bachelor's degree (63.25 percent), the majority of travelers travel with their families (31. 75 percent), and 55. 50 percent travel by car. And the most spending habits on food accounted for 50. 25 percent. Meet the most valuable tourist needs average was 4. 20, followed by experiencing an average of 4.07, customer reach, an average of 4.02, and loyalty was 3.92, which found to be very high, respectively. The analysis of the marketing approach for tourism management in the area analyzed the experience management approach, which was the route model Connecting Tourist Attractions of 8 areas. These include Deeper Friendships, Diet Healthier, and Detox Retreats. For value, there should be a green tourism management approach. In terms of reaching customers, there should be a convenient approach to online travel before, during, and after traveling. And the honesty approach should focus on building tourist relationships to repeat visits to the area.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สำนักหอสมุดกลาง
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: library@kmutnb.ac.th
Role: ผู้ให้ทุน
Created: 2566
Modified: 2024-09-13
Issued: 2567-09-12
งานวิจัย/Research report
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 B17658718.pdf 2.99 MB2 2025-04-09 14:42:26
ใช้เวลา
0.039665 วินาที

วัชราภรณ์ จุลทา
Title Contributor Type
การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงดนตรีของประเทศไทยกรณีศึกษา: เทศกาลดนตรีที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วัชราภรณ์ จุลทา

งานวิจัย/Research report
รายงานการวิจัยการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวสำหรับนักท่องเที่ยวกลุ่มผู้สูงอายุในประเทศไทย: กรณีศึกษาเมืองปราจีนบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วัชราภรณ์ จุลทา
งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากทุนสนับสนุนนักวิจัยรุ่นใหม่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2563.
งานวิจัย/Research report
รายงานการวิจัยทิศทางการเตรียมความพร้อมเส้นทางการท่องเที่ยวในกลุ่มพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจตอนใต้ในเขตประเทศไทย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วัชราภรณ์ จุลทา;ปานณนาถ ศักดิ์ศิริคุณ
งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากโครงการวิจัยทั่วไป คณะบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
งานวิจัย/Research report
แนวทางการพัฒนาตลาดนักท่องเที่ยวกลุ่มซื้อซ้ำภายใต้บริบทสถานการณ์ี่มีการเปลี่ยนแปลงฉับพลัน เพื่อความคงอยู่ของธุรกิจท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ในจังหวัดปราจีนบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วัชราภรณ์ จุลทา;ศุภิศา พุ่มเดช;ปัทมล อินทสุวรรณ์

บทความ/Article
งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากโครงการวิจัยทั่วไป คณะบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
Title Creator Type and Date Create
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 962
รวม 962 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 36,059 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 22 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 8 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 5 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 36,097 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48