แจ้งเอกสารไม่ครบถ้วน, ไม่ตรงกับชื่อเรื่อง หรือมีข้อผิดพลาดเกี่ยวกับเอกสาร ติดต่อที่นี่ ==>
หากไม่มีอีเมลผู้รับให้กรอก thailis-noc@uni.net.th ติดต่อเจ้าหน้าที่เจ้าของเอกสาร กรณีเอกสารไม่ครบหรือไม่ตรง

รายงานการวิจัยแนวทางการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชนเนินหอมเพื่อส่งเสริมการตลาดของธุรกิจโรงแรม
แนวทางการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชนเนินหอมเพื่อส่งเสริมการตลาดของธุรกิจโรงแรม
Guideline for the development of Noen Hom community tourism activities to promote the marketing of the hotel business

Organization : คณะบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ. ภาควิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและการค้า
Email : thichakornk@bas.kmutnb.ac.th

Organization : คณะบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ. ภาควิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรมและการค้า
Email : premsiree.s@bas.kmutnb.ac.th
ThaSH: ความเต็มใจจ่าย
Classification :.LCCS: G155.T5
ThaSH: การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- ปราจีนบุรี
ThaSH: การท่องเที่ยวโดยชุมชน -- ไทย -- ปราจีนบุรี
ThaSH: วิจัยการตลาด
ThaSH: วิสาหกิจชุมชน -- ไทย -- ปราจีนบุรี
Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวในชุมชนบ้าน เนินหอม (2) เพื่อพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวและกิจกรรมการท่องเที่ยวในชุมชนบ้านเนินหอม และ (3) เพื่อวิเคราะห์ความเต็มใจจ่ายค่ากิจกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว โดยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ ใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า (1) แหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ ของชุมชนบ้านเนินหอมที่สำคัญ ได้แก่ เขื่อน โครงการคลองไม้ปล้อง น้ำตกเหวนรก น้ำตกธารรัตนา น้ำตกเขาอีโต้ วัดต่าง ๆ รวมทั้งอ่างเก็บน้ำ วังบอนซึ่งอยู่ในพื้นที่ใกล้เคียง มีวิสาหกิจชุมชน 8 กลุ่ม (2) การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวและ กิจกรรมการท่องเที่ยว พบว่า สถานที่ที่เหมาะสม คือสถานที่ท่องเที่ยว 3 แห่ง ได้แก่ อ่างเก็บ น้ำเขาไม้ ปล้อง วัดเขาพระธรรมขันธ์ และอ่างเก็บน้ำวังบอน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่มีความพร้อมในการพัฒนาเป็น แหล่งการท่องเที่ยว 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มขนมจีนบ่อแร่ กลุ่มสมุนไพรบ้านเนินหอม กลุ่มอาชีพสานเข่งและ ตีมีด และกลุ่มผลิตอังกะลุง มีเส้นทางการปั่นจักรยาน 8 เส้นทาง รวมระยะทางการท่องเที่ยว 35.05 กิโลเมตร ด้านพฤติกรรมการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว พบว่า นักท่องเที่ยวนิยมท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ นิยมท่องเที่ยวแบบกลุ่ม 2-5 คน ใช้เวลาในการท่องเที่ยว 1 วัน มีค่าใช้จ่ายการ ท่องเที่ยว 1,000-3,000 บาท ท่องเที่ยวในช่วงเดือนมกราคม - มีนาคม มาท่องเที่ยวกับครอบครัว ท่องเที่ยวโดยรถยนต์ส่วนบุคคล ด้านความเต็มใจจ่ายค่ากิจกรรมการท่องเที่ยว พบว่า นักท่องเที่ยวเต็มใจ จ่ายค่ากิจกรรมการท่องเที่ยวแบบกลุ่ม 10 คน กลุ่ม 20 คน และกลุ่ม 30 คน คิดเป็นร้อยละ 89.87, ร้อยละ 94.29 และร้อยละ 94.81 ตามลำดับ ผลการวิจัยความเต็มใจจ่ายค่ากิจกรรมการท่องเที่ยวด้วยการ วิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบไบนารี พบว่า สมการถดถอยโลจิสติกสามารถทำนายความเต็มใจจ่ายค่า กิจกรรมการท่องเที่ยวแบบกลุ่ม 10 คน กลุ่ม 20 คน แบบกลุ่ม 30 คน คิดเป็นร้อยละ 36.8, ร้อยละ 39.1 และร้อยละ 52.2 และยังพบว่า ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวแบบกลุ่ม 10 คน และแบบกลุ่ม 20 คน มีอิทธิพลต่อความเต็มใจจ่ายค่ากิจกรรมการท่องเที่ยว ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และ 0.10ตามลำดับ เมื่อพิจารณาค่า Exp (β) พบว่า นักท่องเที่ยวที่มีค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นจาก ต่ำกว่า 1,000 บาท ไปเป็น 1,000-3,000 บาท มีโอกาสที่จะจ่ายค่ากิจกรรมการท่องเที่ยวน้อยลง
Abstract: The objectives of this research were to; (1) investigate tourist attractions and tourism activities in Ban Noenhom communities; (2) enhance travel routes and bicycle tours in these areas; and (3) analysis willingness to pay the tourism activity fee. The operating looked at both quantitative and qualitative. The instruments for data collection were interview and questionnaires. As a result, (1) The Khlong Mai Plong project’s dam, the Haew Narok waterfall, the Tarnrattana waterfall, the Khao Ito waterfall, temples, and the adjacent Wang Bon reservoir became notable tourist attractions in the Ban Noenhom vicinity. There were a total of eight community enterprises. (2) to develop tourist routes and tourism activities showed the 3 suitable locations of Khlong Mai Plong reservoir, Khao Prathammakhan temple, and Wang Bon reservoir. Ban Bo Rae Thai rice noodle, Ban Noenhom herbal product, wicker basket and knife manufacture, and angklung manufacturing were four community businesses interested in enhancing tourism sector. There were eight cycling routes with a total trip distance of 35.05 kilometers. As a result of tourist’s travel behavior, the tourists preferred; nature touring on weekends, a group of 2-5 travelers, and one day trip. There was a traveling expense of 1,000 – 3,000 Baht. In general, the tour was in January – March, with family, and traveled by private vehicle. Regarding willingness to pay the tourism activity fee, the tourists were willing to pay the activity fee for the group of 10, 20, and 30 travelers as 89.87, 94.29, and 94.81 percent. Researching binary logistic regression analysis found that the logistic regression equation could predict willingness to pay the tourism activity fee for 10, 20, and 30 travelers as 36.8, 39.1, and 52.2 percent. Furthermore, the tour expense of group 10 and 20 travelers influenced willingness to pay tourism activity fee with statistical significance at 0.05 and 0.10 accordingly. Concerning Exp (β), the tourist dealing with the increase of traveling expense from lower than 1,000 Baht to 1,000-3,000 Baht tended to pay less traveling expense.
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. สำนักหอสมุดกลาง
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: library@kmutnb.ac.th
Role: ผู้ให้ทุน
Created: 2564
Modified: 2024-09-12
Issued: 2565-08-02
งานวิจัย/Research report
application/pdf
tha
©copyrights มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
RightsAccess:
ลำดับที่.ชื่อแฟ้มข้อมูล ขนาดแฟ้มข้อมูลจำนวนเข้าถึง วัน-เวลาเข้าถึงล่าสุด
1 B17559157.pdf 6 MB14 2024-11-24 15:48:42
ใช้เวลา
0.042639 วินาที

ทิชากร เกษรบัว
Title Contributor Type
รายงานการวิจัยแนวทางการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชนเนินหอมเพื่อส่งเสริมการตลาดของธุรกิจโรงแรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ทิชากร เกษรบัว;เปรมสิรี สุขเปรมปรี
งานวิจัยนี้อยู่ภายใต้โครงการสนับสนุนทุนขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2564.
งานวิจัย/Research report
รายงานวิจัยเรื่องการประยุกต์ใช้วงจรเดมมิ่งในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวชุมชนบ้านเนินหอม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ทิชากร เกษรบัว;เปรมสิรี สุขปรีเปรม
งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากคณะบริหารธุรกิจและอุตสาหกรรมบริการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
งานวิจัย/Research report
งานวิจัยนี้อยู่ภายใต้โครงการสนับสนุนทุนขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2564.
Title Creator Type and Date Create
รายงานการวิจัยแนวทางการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชนเนินหอมเพื่อส่งเสริมการตลาดของธุรกิจโรงแรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
งานวิจัยนี้อยู่ภายใต้โครงการสนับสนุนทุนขับเคลื่อนอุตสาหกรรมเป้าหมาย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2564.
ทิชากร เกษรบัว
เปรมสิรี สุขเปรมปรี
งานวิจัย/Research report
Copyright 2000 - 2025 ThaiLIS Digital Collection Working Group. All rights reserved.
ThaiLIS is Thailand Library Integrated System
สนับสนุนโดย สำนักงานบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
328 ถ.ศรีอยุธยา แขวง ทุ่งพญาไท เขต ราชเทวี กรุงเทพ 10400 โทร. โทร. 02-232-4000
กำลัง ออน์ไลน์
ภายในเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 0
ภายนอกเครือข่าย ThaiLIS จำนวน 656
รวม 656 คน

More info..
นอก ThaiLIS = 37,404 ครั้ง
มหาวิทยาลัยสังกัดทบวงเดิม = 22 ครั้ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏ = 8 ครั้ง
สถาบันพระบรมราชชนก = 5 ครั้ง
หน่วยงานอื่น = 2 ครั้ง
มหาวิทยาลัยเอกชน = 1 ครั้ง
รวม 37,442 ครั้ง
Database server :
Version 2.5 Last update 1-06-2018
Power By SUSE PHP MySQL IndexData Mambo Bootstrap
มีปัญหาในการใช้งานติดต่อผ่านระบบ UniNetHelp


Server : 8.199.134
Client : Not ThaiLIS Member
From IP : 216.73.216.48